Page 82 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 82
บทที่ ๓ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
๓.๒ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
ภาพรวม
กติกำ ICCPR ข้อ ๙ ข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๔ ได้รับรองสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรมของบุคคล ได้แก่ สิทธิที่จะไม่ถูกจับกุม
หรือควบคุมตัวโดยอ�ำเภอใจ สิทธิที่จะได้รับแจ้งถึงเหตุผลและข้อหำในกำรจับกุม สิทธิที่จะมีเวลำและได้รับควำมสะดวกเพียงพอ
แก่กำรเตรียมกำรเพื่อต่อสู้คดี สิทธิในกำรได้รับกำรสันนิษฐำนว่ำเป็นผู้บริสุทธิ์ สิทธิในกำรได้รับกำรปล่อยชั่วครำว สิทธิใน
กำรตรวจสอบควำมชอบด้วยกฎหมำยของกำรจับกุมหรือควบคุม สิทธิในกำรได้รับกำรเยียวยำในกรณีถูกจับกุมหรือควบคุม
ตัวโดยไม่ชอบ สิทธิที่จะได้รับกำรปฏิบัติด้วยควำมมีมนุษยธรรมและเคำรพในศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ สิทธิที่จะได้รับควำม
เสมอภำคในกำรพิจำรณำของศำลและตุลำกำร สิทธิที่จะได้รับกำรพิจำรณำโดยเปิดเผยและเป็นธรรมจำกตุลำกำรที่มีควำม
เป็นอิสระและเป็นกลำง สิทธิที่จะได้รับกำรพิจำรณำโดยไม่ชักช้ำเกินควำมจ�ำเป็น สิทธิที่จะซักถำมพยำนซึ่งเป็นปรปักษ์กับตน
สิทธิที่จะได้รับควำมช่วยเหลือจำกล่ำม สิทธิที่จะไม่ถูกบังคับให้เบิกควำมเป็นปรปักษ์ต่อตนเองหรือให้รับสำรภำพผิด สิทธิ
ที่จะได้รับกำรทบทวนกำรลงโทษและค�ำพิพำกษำโดยคณะตุลำกำรระดับเหนือขึ้นไป สิทธิที่จะไม่ถูกพิจำรณำหรือลงโทษซ�้ำ
ในกำรกระท�ำควำมผิดเดียวกัน
คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนประจ�ำกติกำ ICCPR ได้มีข้อสังเกตสรุปรวม (Concluding observations) ต่อรำยงำน
ตำมวำระฉบับที่สองของประเทศไทย (CCPR/C/THA/2) เมื่อเดือนมีนำคม ๒๕๖๐ ในส่วนเกี่ยวกับสิทธิที่จะได้รับกำรพิจำรณำคดี
๓๗
อย่ำงเป็นธรรมและศำลทหำร กล่ำวคือ รัฐภำคีควรประกันว่ำ กำรพิจำรณำคดีในศำลทหำรให้กระท�ำเป็นข้อยกเว้นเท่ำนั้น บทที่
และให้ด�ำเนินไปตำมหลักเกณฑ์ตำมข้อ ๑๔ ของกติกำ ICCPR โดยควรใช้มำตรกำรที่จ�ำเป็นเพื่อรับพิจำรณำค�ำร้องให้ถ่ำยโอน ๓
คดีจำกศำลทหำรส�ำหรับควำมผิดที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ ๑๒ กันยำยน ๒๕๕๙ โดยให้ถ่ำยโอนคดีที่ยังพิจำรณำไม่เสร็จไปยังศำล
พลเรือน และเปิดโอกำสให้จ�ำเลยที่เป็นพลเรือนในคดีที่ศำลทหำรตัดสินแล้วสำมำรถอุทธรณ์ค�ำตัดสินต่อศำลพลเรือนได้
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรม ในหมวด ๓ สิทธิและ
เสรีภำพของปวงชนชำวไทย มำตรำ ๒๙ โดยได้บัญญัติรับรองสิทธิในกำรสันนิษฐำนว่ำเป็นผู้บริสุทธิ์ กำรควบคุมหรือคุมขัง
ผู้ต้องหำหรือจ�ำเลยให้กระท�ำเท่ำที่จ�ำเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีกำรหลบหนี สิทธิที่จะไม่ให้กำรเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเอง
สิทธิในกำรได้รับกำรปล่อยชั่วครำว และหมวด ๖ แนวนโยบำยแห่งรัฐ มำตรำ ๖๘ รัฐพึงจัดระบบกำรบริหำรงำน
ในกระบวนกำรยุติธรรมทุกด้ำนให้มีประสิทธิภำพ เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชำชนเข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรม
ได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่ำใช้จ่ำยสูงเกินสมควร พึงมีมำตรกำรคุ้มครองเจ้ำหน้ำที่ของรัฐในกระบวนกำรยุติธรรม
ให้สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้โดยเคร่งครัด ปรำศจำกกำรแทรกแซงหรือครอบง�ำใด ๆ รัฐต้องให้ควำมช่วยเหลือทำงกฎหมำย
ที่จ�ำเป็นและเหมำะสมแก่ผู้ยำกไร้หรือผู้ด้อยโอกำสในกำรเข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรม รวมถึงกำรจัดหำทนำยควำมให้
นอกจำกนี้ มำตรำ ๒๕๘ ง. ได้ก�ำหนดกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม ๔ ด้ำน ได้แก่ ๑) กำรก�ำหนด
ระยะเวลำด�ำเนินงำนในทุกขั้นตอนของกระบวนกำรยุติธรรม และมีกลไกช่วยเหลือประชำชนผู้ขำดแคลนทุนทรัพย์ให้เข้ำถึง
กระบวนกำรยุติธรรม รวมถึงกำรสร้ำงกลไกเพื่อให้มีกำรบังคับกำรตำมกฎหมำยอย่ำงเคร่งครัดเพื่อลดควำมเหลื่อมล�้ำ
และควำมไม่เป็นธรรมในสังคม ๒) กำรปรับระบบกำรสอบสวนคดีอำญำ ๓) กำรเสริมสร้ำงและพัฒนำวัฒนธรรมองค์กร
ขององค์กรต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนกำรยุติธรรมให้มุ่งอ�ำนวยควำมยุติธรรมแก่ประชำชนโดยสะดวกรวดเร็ว และ
๔) กำรปฏิรูปต�ำรวจ
ในขณะเดียวกันรัฐได้ด�ำเนินกำรด้ำนกฎหมำยและนโยบำยต่ำง ๆ เพื่อให้ประชำชนเข้ำถึงสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรม
และคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหำ จ�ำเลย ผู้ต้องขัง ที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้
๓๗ The Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. (2016). UN Treaty Bodies Database. Retrieved from http://tbinternet.ohchr.org
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 81