Page 80 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 80
บทที่ ๓ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
นอกจำกกำรกระท�ำทรมำน และบังคับสูญหำยจะมีควำมเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้ำงผ่ำนกำรยกร่ำงกฎหมำยและ
ปรำกฏเป็นเรื่องร้องเรียนมำยัง กสม. แล้ว ในด้ำนกำรส่งเสริมควำมรู้ควำมเข้ำใจต่อเจ้ำหน้ำที่ของรัฐก็เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใน
ปี ๒๕๖๐ ด้วยเช่นกัน โดยเมื่อเดือนพฤษภำคม ๒๕๖๐ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพ กระทรวงยุติธรรม ได้จัดกำรฝึกอบรม
หลักสูตรวิทยำกรกระบวนกำรยุติธรรมในพื้นที่จังหวัดชำยแดนภำคใต้ ภำยใต้โครงกำรส่งเสริมสิทธิเสรีภำพโดยกำรมีส่วนร่วม
ของเจ้ำหน้ำที่รัฐและภำคประชำชน มีกำรบรรยำยในหัวข้อต่ำง ๆ เช่น ปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชนและสนธิสัญญำ
หลักด้ำนสิทธิมนุษยชน แนวทำงปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับกำรบังคับใช้กฎหมำยพิเศษด้ำนควำมมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชำยแดน
ภำคใต้ เป็นต้น ๓๕
การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค
จำกกำรน�ำเสนอถึงสถำนกำรณ์ด้ำนสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับกำรกระท�ำทรมำนและกำรบังคับสูญหำยข้ำงต้น พบว่ำ
มีเนื้อหำที่เป็นควำมก้ำวหน้ำและควำมถดถอย ดังนี้
๑. สถานการณ์ที่มีความก้าวหน้า คือ
๑.๑ ควำมพยำยำมของคณะรัฐมนตรีต่อกำรมีมติเห็นชอบให้เสนอร่ำงพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำม
กำรทรมำนฯ เข้ำสู่กำรพิจำรณำของสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ ถือว่ำเป็นกำรด�ำเนินกำรเชิงโครงสร้ำงที่สอดคล้องกับกำรรับรอง
และคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพของบุคคลตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย อนุสัญญำ CAT อนุสัญญำ CPED บทที่
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ฉบับที่ ๓ ด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม รวมถึงข้อสังเกตสรุปรวมของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน ๓
๓๖
ประจ�ำกติกำ ICCPR ต่อกำรตรวจสอบรำยงำนกำรปฏิบัติงำนตำมวำระฉบับที่สองของประเทศไทยต่อกติกำ ICCPR
เมื่อเดือนมีนำคม ๒๕๖๐
๑.๒ กำรจัดให้มีกำรอบรมหลักสูตรวิทยำกรกระบวนกำรด้ำนยุติธรรมในพื้นที่จังหวัดชำยแดนภำคใต้ ที่ด�ำเนินกำร
โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพ กระทรวงยุติธรรมนั้น ถือว่ำเป็นกลไกที่ส�ำคัญในกำรท�ำให้เจ้ำหน้ำที่ของรัฐที่ปฏิบัติงำน
ด้ำนกระบวนกำรยุติธรรมมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรปฏิบัติหน้ำที่โดยค�ำนึงถึงสิทธิและเสรีภำพของประชำชนและกำรสร้ำง
กำรมีส่วนร่วมกับภำคประชำชน
๒. สถานการณ์ที่ไม่มีความก้าวหน้าหรือถดถอย
๒.๑ แม้รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย และอนุสัญญำ CAT ซึ่ง
ประเทศไทยเป็นภำคี ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ จะให้กำรรับรองสิทธิและเสรีภำพ
ในชีวิตและร่ำงกำย แต่กำรกล่ำวอ้ำงถึงกำรกระท�ำทรมำนและกำรบังคับ
สูญหำยยังคงเกิดขึ้นเป็นระยะ ๆ นอกจำกนี้ ประเทศไทยยังไม่มีกลไก
ทำงกฎหมำยก�ำหนดให้กำรกระท�ำทรมำนรวมถึงกำรบังคับสูญหำยเป็นควำมผิด
ทำงอำญำ กำรอำศัยกลไกกฎหมำยอำญำที่มีอยู่ไม่เพียงต่อกำรสืบสวน
สอบสวนเพื่อน�ำตัวผู้กระท�ำผิดมำลงโทษได้ ขณะเดียวกัน กำรน�ำคดีบังคับ
สูญหำยเข้ำสู่กำรพิจำรณำของศำลยังแสดงให้เห็นถึงข้อจ�ำกัดและอุปสรรค
ทำงกฎหมำยต่อญำติของผู้ถูกบังคับสูญหำยที่ไม่อำจเข้ำเป็นโจทก์ร่วมกับอัยกำรได้
๓๔ ค�ำพิพำกษำฎีกำที่ ๑๐๙๑๕/๒๕๕๘.
๓๕ จำก กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพ, ข่ำวประชำสัมพันธ์ ฉบับที่ ๒๘๙/๒๕๖๐, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพ จัดกำรฝึกอบรมหลักสูตรวิทยำกรกระบวนกำรด้ำนสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ จังหวัด
ชำยแดนภำคใต้ ภำยใต้โครงกำรส่งเสริมสิทธิเสรีภำพโดยกำรมีส่วนร่วมของเจ้ำหน้ำที่รัฐและภำคประชำชน, สืบค้นจำก www.rlpd.go.th
๓๖ มีข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติกำรให้ก�ำหนดค�ำนิยำมของ “กำรทรมำน” ในประมวลกฎหมำยอำญำ รวมทั้งกำรออกกฎหมำยให้กำรทรมำนเป็นควำมผิดอำญำ และแก้ไขกฎหมำยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกรณีภำยใต้อนุสัญญำต่อต้ำนกำรทรมำนฯ และปรับปรุงกลไกกำรตรวจสอบข้อร้องเรียนเรื่องกำรทรมำนภำยในประเทศให้เป็นกลำงและเป็นอิสระ ภำยในปี ๒๕๖๑
(อ้ำงถึงใน แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑ ,โดย กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพ กระทรวงยุติธรรม).
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 79