Page 79 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 79
ที่เหมำะสมต่อกำรน�ำผู้กระท�ำผิดฐำนกระท�ำทรมำนและบังคับสูญหำยเข้ำสู่กระบวนกำรยุติธรรมที่สอดคล้องกับมำตรฐำน
ระหว่ำงประเทศด้ำนสิทธิมนุษยชน ขณะเดียวกันคณะกรรมกำรแสดงควำมกังวลต่อควำมล่ำช้ำในกำรประกำศใช้
ร่ำงพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำมกำรทรมำนฯ กำรปล่อยให้ผู้กระท�ำกำรทรมำนและบังคับสูญหำยพ้นผิดลอยนวล
รวมถึงกระบวนกำรสอบสวนคดีที่มีควำมล่ำช้ำด้วย
ส�ำหรับสถำนกำรณ์กำรกระท�ำทรมำน กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนโดยกล่ำวอ้ำงว่ำถูกเจ้ำหน้ำที่ท�ำร้ำยร่ำงกำย ซ้อม
ทรมำนเพื่อให้กำรรับสำรภำพ หรือให้ข้อมูล หรือในขณะจับกุมหรือควบคุมตัวอย่ำงต่อเนื่อง โดยตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๙
พบว่ำ ได้รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับเรื่องนี้จ�ำนวน ๑๐๒ ค�ำร้อง ส่วนใหญ่เป็นค�ำร้องที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชำยแดนภำคใต้
๓๑
ในปี ๒๕๖๐ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับกำรทรมำนบุคคล จ�ำนวน ๒๗ ค�ำร้อง ในจ�ำนวนนี้เป็นเรื่องในพื้นที่
๓๒
จังหวัดชำยแดนภำคใต้ จ�ำนวน ๒๖ ค�ำร้อง เรื่องร้องเรียนส่วนมำกเป็นกำรกล่ำวอ้ำงว่ำเจ้ำหน้ำที่ด้ำนควำมมั่นคงเป็นผู้กระท�ำทรมำน
ขณะจับกุมหรือควบคุมตัว และในปีเดียวกันนี้ กสม. ยังไม่พบเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับกำรบังคับให้สูญหำย แต่ที่ผ่ำนมำ
๓๓
ประเทศไทยประสบปัญหำกำรบังคับสูญหำยและมักจะมีกำรกล่ำวอ้ำงจำกญำติของผู้สูญหำยว่ำอำจมีควำมเกี่ยวข้องกับ
เจ้ำหน้ำที่ของรัฐในกำรใช้อ�ำนำจในกำรปฏิบัติหน้ำที่ ตัวอย่ำงกำรบังคับสูญหำยที่น่ำสนใจ เช่น กำรถูกบังคับสูญหำยของ
ทนำยควำมที่มีบทบำทในกำรเคลื่อนไหวด้ำนสิทธิมนุษยชนในภำคใต้ ซึ่งต่อมำมีกำรรำยงำนว่ำถูกกลุ่มชำยฉกรรจ์ลักพำตัว
ไปในเขตกรุงเทพมหำนครเมื่อปี ๒๕๔๗ แม้กรณีดังกล่ำวนี้จะได้มีกำรน�ำคดีเข้ำสู่กำรพิจำรณำของศำล แต่ในที่สุดเมื่อ
ปี ๒๕๕๙ ศำลฎีกำได้มีค�ำพิพำกษำยกฟ้องจ�ำเลย โดยพบว่ำ มีประเด็นควำมเป็นผู้เสียหำยตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำ
๓๔
ควำมอำญำ มำตรำ ๕ (๒) ที่อำจเป็นบรรทัดฐำนในคดีที่เกี่ยวกับกำรบังคับสูญหำยคดีอื่น ๆ กล่ำวคือ ศำลฎีกำเห็นว่ำ
ทนำยควำมที่สูญหำยเป็นผู้เสียหำยที่มีอ�ำนำจฟ้อง
คดีอำญำหรือยื่นค�ำร้องขอเข้ำเป็นโจทก์ร่วมกับ
พนักงำนอัยกำรตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำ
ควำมอำญำ มำตรำ ๒๘ และมำตรำ ๓๐
หำกทนำยควำมที่สูญหำยนั้นไม่สำมำรถด�ำเนินกำร
ดังกล่ำวได้ อย่ำงไรก็ตำม ประมวลกฎหมำยวิธี
พิจำรณำควำมอำญำมำตรำ ๕ (๒) ก�ำหนดให้ผู้สืบ
สันดำนและภริยำมีอ�ำนำจจัดกำรแทนผู้เสียหำยได้
เฉพำะในควำมผิดอำญำซึ่งผู้เสียหำยถูกท�ำร้ำย
ถึงตำยหรือบำดเจ็บจนไม่สำมำรถจัดกำรเองได้
เมื่อพิจำรณำจำกค�ำบรรยำยฟ้องแล้วพบว่ำไม่มี
กำรยืนยันว่ำทนำยควำมที่สูญหำยนั้นยังมีชีวิตอยู่
หรือไม่ อีกทั้ง ไม่ได้ควำมว่ำได้ถูกท�ำร้ำยได้รับบำด
เจ็บจนไม่สำมำรถจัดกำรเองได้ เมื่อข้อเท็จจริง
ไม่ปรำกฏว่ำทนำยควำมที่สูญหำยนั้นถูกท�ำร้ำย
ถึงตำยหรือบำดเจ็บจนไม่สำมำรถจัดกำรเองได้
โจทก์ร่วม (ภรรยำและบุตร) จึงไม่มีสิทธิยื่นค�ำร้อง
ขอเข้ำเป็นโจทก์
๓๐ The Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. (2016). Universal Periodic Review-Thailand. Retrieve from http://tbinternet.ohchr.org
๓๑ จำก ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรรวบรวมและบริกำรสำรสนเทศด้ำนสิทธิมนุษยชน : ฐำนข้อมูลเรื่องร้องเรียน, ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ, สืบค้นจำก http://hris.nhrc.or.th,
เมื่อวันที่ ๒๐ มีนำคม ๒๕๖๐.
๓๒ จำก ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรรวบรวมและบริกำรสำรสนเทศด้ำนสิทธิมนุษยชน : ฐำนข้อมูลเรื่องร้องเรียน, อ้ำงแล้ว.
๓๓ ค�ำร้องที่ ๓๙๘/๒๕๖๐ กรณีกล่ำวอ้ำงว่ำ เจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจซ้อมทรมำนเพื่อให้ยอมรับสำรภำพ และพนักงำนสอบสวนไม่ด�ำเนินคดีที่แจ้งควำมร้องทุกข์ไว้. ค�ำร้องที่ ๓๙๔/๒๕๖๐ กรณีกล่ำว
อ้ำงว่ำ เจ้ำหน้ำที่ทหำรซ้อมทรมำนในระหว่ำงกำรควบคุมตัว.
78 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐