Page 57 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 57
การปฏิบัติต่อผู้ถูกจับกุมด้วยมนุษยธรรม เสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่อาศัย ความเสมอภาคในด้านกฎหมาย และ
กระบวนการยุติธรรมทางศาล สิทธิในสถานะบุคคล สิทธิในความเป็นส่วนตัว สิทธิเสรีภาพทางความคิดและศาสนา
การห้ามการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อการสงครามและการเกลียดชังเผ่าพันธุ์ สิทธิในการชุมนุมอย่างสงบ การรวมตัว
เป็นสมาคม การคุ้มครองครอบครัว และการสมรส สิทธิของเด็กในด้านการคุ้มครอง การมีทะเบียนเกิดและ
สัญชาติ สิทธิในการมีส่วนร่วมในการบริหารบ้านเมือง และสิทธิของชนกลุ่มน้อย
ส่วนที่สี่ (ข้อบทที่ ๒๘ - ๔๕) ว่าด้วยคณะกรรมการและการเสนอรายงาน (ข้อบทที่ ๒๐) การไกล่เกลี่ยข้อร้องเรียน
ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกติกา
ส่วนที่ห้า (ข้อบทที่ ๔๖ - ๔๗) ว่าด้วยการตีความ
ส่วนที่หก (ข้อบทที่ ๔๘ - ๕๓) ว่าด้วยการลงนามเข้าเป็นภาคี การมีผลบังคับ การแก้ไข การเก็บรักษา
ต้นฉบับทั้ง ๕ ภาษา
๑.๓ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil
and Political Rights : ICCPR) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๐
ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี โดยการภาคยานุวัติในวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๐ พร้อมท�าค�าแถลงตีความ
ใน ๒ ประเด็น ได้แก่ (๑) การก�าหนดเจตจ�านงของตนเอง โดยมิได้หมายรวมถึงการแบ่งแยกดินแดนหรือเอกภาพ
ทางการเมือง (ข้อบทที่ ๑ วรรคหนึ่ง) และ (๒) การโฆษณาชวนเชื่อเพื่อท�าสงคราม (ข้อบทที่ ๒๐ วรรคหนึ่ง)
เนื้อหามีทั้งหมด ๕๓ ข้อบท แบ่งออกเป็น ๖ ส่วน
ส่วนที่หนึ่ง-ส่วนที่สาม (ข้อบทที่ ๑ - ๒๗) เป็นสารบัญญัติว่าด้วยสิทธิต่าง ๆ จ�านวน ๒๗ ข้อ ก�าหนดสิทธิต่าง ๆ
ทั้งในส่วนที่เป็นสิทธิของประชาชน ซึ่งว่าด้วยการก�าหนดสิทธิของตนเองในเรื่องการเมือง และสามารถด�าเนินการ
อย่างเสรีในการจัดการทรัพยากร และการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของตนเอง และการประกันสิทธิ
ของรัฐภาคี ที่จะต้องส่งเสริมให้บังเกิดผลตามสิทธิดังกล่าว โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ สิทธิเหล่านี้ รวมถึงสิทธิ
ที่จะมีชีวิตและการยกเลิกโทษประหารชีวิต การห้ามการทรมาน/ลงโทษทารุณโหดร้าย การมีทาส เสรีภาพในความ
ปลอดภัยของร่างกาย การห้ามการจับกุมหรือควบคุมตัวโดยพลการ หรือตามอ�าเภอใจโดยมิได้กระท�าผิดกฎหมาย
การปฏิบัติต่อผู้ถูกจับกุมด้วยมนุษยธรรม เสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่อาศัย ความเสมอภาคในด้านกฎหมาย และ
กระบวนการยุติธรรมทางศาล สิทธิในสถานะบุคคล สิทธิในความเป็นส่วนตัว สิทธิเสรีภาพทางความคิดและศาสนา
การห้ามการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อการสงครามและการเกลียดชังเผ่าพันธุ์ สิทธิในการชุมนุมอย่างสงบ การรวมตัว
เป็นสมาคม การคุ้มครองครอบครัว และการสมรส สิทธิของเด็กในการด้านการคุ้มครอง การมีทะเบียนเกิดและ
สัญชาติ สิทธิในการมีส่วนร่วมในการบริหารบ้านเมือง และสิทธิของชนกลุ่มน้อย
ส่วนที่สี่ (ข้อบทที่ ๒๘-๔๕) ว่าด้วยคณะกรรมการและการเสนอรายงาน (ข้อบทที่ ๒๐) การไกล่เกลี่ย
ข้อร้องเรียนระหว่างประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกติกา
56 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐