Page 186 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 186
บทที่ ๖ การประเมินสถานการณ์ด้าน
สิทธิมนุษยชนใน ๕ ประเด็นร่วม
ต�่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ ๑๖.๒ เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของประเทศซึ่งอยู่ที่ร้อยละ ๖.๗ ในขณะที่จังหวัดปัตตานี ยะลา
และสงขลา อัตรานี้อยู่ที่ร้อยละ ๑๔.๓ ร้อยละ ๑๒.๙ และร้อยละ ๑๐ ตามล�าดับ ทั้งนี้ ในปี ๒๕๖๐ รัฐบาลได้มีแผนงาน
๓๕๐
บูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และในการด�าเนินงานด้านสาธารณสุข ได้มีโครงการพัฒนา
คุณภาพและแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่ และการป้องกันควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อในพื้นที่จังหวัด
๓๕๑
ชายแดนภาคใต้ ๓๕๒
ที่มา : การส�ารวจสถานการณ์เด็กและสตรีใน ๑๔ จังหวัดของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ (ยูนิเซฟ ประเทศไทย)
๒.๓.๓ สิทธิสตรี
ในปี ๒๕๖๐ มีจ�านวนสตรีที่เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ความไม่สงบจ�านวน ๗๘ ราย เสียชีวิต ๑๐ ราย
ได้รับบาดเจ็บ ๖๘ ราย มีจ�านวนลดลงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๙ ที่มีสตรีเสียชีวิตจากเหตุการณ์ความไม่สงบจ�านวน ๒๔ ราย
ได้รับบาดเจ็บ ๑๒๘ ราย โดยกรณีการลอบวางระเบิดห้างสรรพสินค้า ในพื้นที่อ�าเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เมื่อเดือน
พฤษภาคม ๒๕๖๐ ส่งผลให้สตรีได้รับบาดเจ็บมากถึง ๔๑ ราย ๓๕๓
บทที่
๖
๓๕๐ กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF). (๒๕๖๐). “ยูนิเซฟชี้เด็กในจังหวัดชายแดนใต้ประสบภาวะขาดสารอาหารมากที่สุด”. สืบค้นจาก www.unicef.org/thailand/tha/media_
27044.html
๓๕๑ ตัวชี้วัด ได้แก่ ... ร้อยละของเด็ก ๐-๕ ปี มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕.
๓๕๒ ตัวชี้วัด ได้แก่ อัตราการคลอบคลุมวัคซีนในเด็กอายุ ๐-๕ ปี ครบร้อยละ ๙๕ ...
๓๕๓ หนังสือจังหวัดปัตตานี ด่วนที่สุด ที่ ปน. ๐๐๑๘.๒(๗)/๒๐ ลงวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐.
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 185