Page 185 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 185
แผนภาพที่ ๓ สถิติเด็กที่เสียชีวิต และได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปี ๒๕๔๗ – ๒๕๖๐)
๕๖ ๕๓
๕๐
๔๔
๔๘
๓๗
จํานวน (คน) ๓๖ ๓๒ ๓๖ ๓๕ ๔๐ ๓๒
๒๓
๑๗
๒๐
๑๔ ๕ ๖ ๕ ๕ ๕ ๕ ๙ ๔
๐ ๒ ๗
๔
๒๕๔๗ ๒๕๔๘ ๒๕๔๙ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐
ป
ผูเสียชีวิต ผูไดรับบาดเจ็บ
ที่มา : ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
มิติด้านสุขภาพ เด็กในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี และยะลา ยังคงมีจ�านวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ ๑๒ ปี ไม่ผ่าน
เกณฑ์ในการได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สูงเป็นสามอันดับแรกของประเทศไทย ๓๔๙
นอกจากนี้ ข้อมูลจาก “รายงานการส�ารวจสถานการณ์เด็กและสตรี (The Multiple Indicator Cluster Survey : MICS)
ใน ๑๔ จังหวัดของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙” พบว่า อัตราของเด็กอายุต�่ากว่า ๕ ปี ที่มีภาวะผอมแห้งหรือภาวะ
ทุพโภชนาการเฉียบพลันในจังหวัดชายแดนภาคใต้สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ โดยอัตราสูงสุดคือจังหวัดปัตตานีเมื่อเทียบ
กับจังหวัดอื่น คือร้อยละ ๑๓.๓ ตามด้วยจังหวัดนราธิวาสที่ร้อยละ ๑๐.๗ รวมถึงเด็กอายุต�่ากว่า ๕ ปี ในจังหวัดนราธิวาส
ยะลา ปัตตานี และสงขลา มีน�้าหนักต�่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน โดยในจังหวัดนราธิวาสมีเด็กอายุต�่ากว่า ๕ ปี ที่มีน�้าหนัก
๓๔๙ คณะกรรมการอ�านวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน. “รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย ปี ๒๕๖๐” หน้า ๓๔.
184 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐