Page 36 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
P. 36
ความสัมพันธ์ระหว่างสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประเทศที่เป็นแหล่งก�าเนิดส�านักกฎหมายส�าคัญทั้งสองส�านักเชื่อว่า พระผู้เป็นเจ้าเป็นผู้สร้างมนุษย์ ไม่มีผู้ใดจะสามารถ
ท�าลายสิ่งที่พระผู้เป็นเจ้าได้สร้างขึ้นมาโดยชอบธรรมได้ เป็นต้น ดังนั้น ที่มาในระยะแรกของสิทธิมนุษยชน ก็คือ ศีลธรรม
ตามหลักศาสนา
๑.๒) ส�านักกฎหมายธรรมชาติ
นักปรัชญาที่ได้รับการยอมรับในอดีตว่าเป็นนักกฎหมายธรรมชาติ ได้แก่ โสเครติส,
อริสโตเติล, ฮิวโก โกรติอุส, โธมัส อไควนัส ต่างสร้างทฤษฎีทั้งหลายที่เกี่ยวกับกฎหมายธรรมชาติขึ้นมาหลากหลายทฤษฎี
โดยเฉพาะโกรติอุส ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศก็ได้ให้นิยามว่า กฎหมายธรรมชาติคือ
ค�าบัญชาในเหตุผลที่ถูกต้อง (The Dictate of Right Reason) ที่ชี้ว่าการกระท�าอันหนึ่งมีความต�่าทรามในทางศีลธรรม
หรือมีความจ�าเป็นในทางศีลธรรม ทั้งนี้ โดยดูจากว่าคุณภาพของการกระท�านั้นเป็นไปตามธรรมชาติหรือขัดแย้งกับธรรมชาติ
6
ที่มีเหตุผลของมนุษย์ อันแสดงให้เห็นว่านักกฎหมายธรรมชาติในยุคแรกก็มีความเห็นว่ามนุษย์ไม่ควรกระท�าการที่ต�่าทราม
ทางศีลธรรมต่อกัน
จอห์น ล็อก และโธมัส ฮ็อบส์ ก็เป็นนักปรัชญาทางกฎหมายธรรมชาติอีกกลุ่มหนึ่ง
ที่สร้างความหมายของสิทธิมนุษยชนไว้ค่อนข้างชัดเจนในยุคเริ่มต้น โดยสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับความเป็นมนุษย์ในสภาวะ
ธรรมชาติ (Human Beings in a State of Nature) เห็นว่า ทั้งผู้ชายและผู้หญิงต่างมีเสรีภาพ สามารถตัดสินใจกระท�า
หรือไม่กระท�าอะไรก็ได้ ต่างมีความเท่าเทียมกัน ไม่มีผู้ใดมีสิทธิที่จะก�าหนดเจตจ�านงของผู้อื่น 7
ด้วยแนวคิดของส�านักกฎหมายธรรมชาติ ต่างเชื่อว่า สิทธิตามธรรมชาติ (Natural
Rights) เป็นสิ่งที่สร้างความส�าคัญให้กับสิทธิมนุษยชน องค์กรผู้มีอ�านาจจะต้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยไม่แบ่งแยกชาย
หญิง หรือเชื้อชาติ และสิทธิตามธรรมชาตินี้ไม่อาจโอนให้แก่กันได้ (Inalienable)
ส�านักกฎหมายธรรมชาติเป็นส�านักต้นก�าเนิดของแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีความ
เห็นในท�านองว่า สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิที่มาจากศีลธรรม (Moral Rights) ตามธรรมชาติ หรือสิทธิที่ติดตัวมาแต่ก�าเนิด
เมื่อบุคคลถือก�าเนิดมา รัฐต่าง ๆ ต้องให้ความคุ้มครองสิทธิทางศีลธรรมหรือทางธรรมชาติอันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ไม่มี
กฎหมายใด ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นมาที่จะสามารถลบล้างสิทธิมนุษยชนได้ ขณะที่ส�านักกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองเห็นว่า แนวคิด
8
ของส�านักกฎหมายธรรมชาติเป็นอภิปรัชญา (Metaphysical) จนเกินไป หรือเป็นสิ่งที่เลื่อนลอยไม่มีหลักชัดเจน ดังนั้น แม้
ส�านักกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองจะยอมรับว่ารัฐจะต้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน แต่สิทธิมนุษยชนที่รัฐพึงคุ้มครองจะต้องได้รับ
การบัญญัติออกมาเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจนเท่านั้น ไม่ใช่สิ่งที่ไม่มีขอบเขตและใช้บังคับยากดังแนวความคิด
ของส�านักกฎหมายธรรมชาติที่ไม่มีขอบเขตที่ชัดเจน
ยิ่งไปกว่านั้น แม้ค�าว่าสิทธิทางศีลธรรม (Moral Rights) เองก็ยังมีผู้ให้ความเห็นว่ามี
ความแตกต่างจากสิทธิทางกฎหมาย (Legal Rights) อยู่บ้าง จึงไม่อาจน�าสิทธิทางศีลธรรมมาใส่ไว้ในกฎหมายได้ทั้งหมด
เนื่องจากสิทธิทางกฎหมายยังคงต้องอาศัยความชอบด้วยกฎหมาย (Lawful) อยู่ด้วย แต่สิทธิทางศีลธรรมเน้นในทางปฏิบัติ
6 Hugo Grotius states that “The law of nature is a dictate of right reason” De Jure Belli et Pacis Book 1 Chapter 1,
1625. Retrieved from https://lonang.com/library/reference/grotius-law-war-and-peace/gro-101/.
7 From The Second and Treaties of Government, by John Locke, 1952.
8 From “Critique of the Doctrine of Inalienable, Natural Rights” by Jeremy Bentham, (1843) Anarchical
Fallacies, 2. Retrieved from http://www.ditext.com/bentham/bentham.html.
35