Page 236 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 236
จากรายงานดัชนีความเสมอภาคทางเพศของโลก สรุปได้ว่าความสามารถของประเทศไทยในการลดความเหลื่อมล�้า
ระหว่างหญิงชายอยู่ในล�าดับที่ ๗๑ จากทั้งหมด ๑๔๔ ประเทศ ลดลงจากอันดับที่ ๔๐ เมื่อปี ๒๕๔๙ ส�าหรับการจัดล�าดับ
ของประเทศไทยของค่าดัชนีย่อยในแต่ละด้าน คือ มิติด้านสุขภาพและการด�ารงชีวิต (Health) อยู่ในล�าดับที่ ๑ ส่วนด้านโอกาส
และส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ (Economy) ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในล�าดับที่ ๒๒ ลดลงจากล�าดับที่ ๑๓ เมื่อปี ๒๕๔๙
ด้านโอกาสในการส�าเร็จการศึกษา (Education) ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในล�าดับที่ ๗๔ ลดลงจากล�าดับที่ ๗๒ เมื่อปี ๒๕๔๙
และด้านอ�านาจทางการเมือง (Politics) ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในล�าดับที่ ๑๓๑ ลดลงจากล�าดับที่ ๘๙ เมื่อปี ๒๕๔๙
ความรุนแรงต่อสตรี (Violence against women) ประเทศไทยได้มีการจัดท�ารายงานเพื่อแสดงสถิติข้อมูล
๕๐๗
เกี่ยวกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นในแต่ละปี พบว่าในช่วงปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๙ มีเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ๖,๖๔๑
เหตุการณ์ ส่วนใหญ่เป็นการท�าร้ายร่างกาย การดุด่า ดูถูก การหยาบคาย ตะคอก ประจาน ขู่บังคับ การละเลย ทอดทิ้ง และ
การข่มขืน โดยผู้ถูกกระท�าส่วนใหญ่เป็นสตรี อย่างไรก็ตาม ยังมีเด็กและสตรีอีกจ�านวนหนึ่งที่ได้รับความเสียหายแต่ไม่เข้าไป
แจ้งความด�าเนินคดีหรือขอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐ เนื่องจากเกิดความรู้สึกอับอายและไม่ต้องการให้ความ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเฉพาะ
สัมพันธ์ในครอบครัวมีปัญหา รายละเอียดตามตารางที่ ๑๒
ตารางที่ ๑๒ จ�านวนเด็กและสตรีที่ถูกกระท�าความรุนแรงและเข้ารับบริการในศูนย์พึ่งได้
ปี เด็กที่ถูกกระทำ สตรีที่ถูกกระทำ รวมเด็กและสตรีที่ถูกกระทำ เฉลี่ยการถูกทำ ร้าย
ความรุนแรง (ราย) ความรุนแรง (ราย) ความรุนแรง (ราย)
๒๕๕๐ ๙,๕๙๘ ๙,๔๖๙ ๑๙,๐๖๗ ๕๒ ราย/วัน
๒๕๕๑ ๑๓,๐๓๖ ๑๓,๕๙๕ ๒๖,๖๓๑ ๗๓ ราย/วัน บทที่
๖
๒๕๕๒ ๑๒,๓๕๙ ๑๑,๑๔๐ ๒๓,๔๙๙ ๖๔ ราย/วัน
๒๕๕๓ ๑๓,๑๖๐ ๑๒,๕๕๔ ๒๕,๗๑๔ ๗๐ ราย/วัน
๒๕๕๔ ๑๑,๔๙๒ ๑๑,๐๗๔ ๒๒,๕๖๖ ๖๒ ราย/วัน
๒๕๕๕ ๙,๗๐๓ ๑๐,๘๖๙ ๒๐,๕๗๒ ๕๖ ราย/วัน
๒๕๕๖ ๑๙,๒๒๙ ๑๒,๖๓๗ ๓๑,๘๖๖ ๘๗ ราย/วัน
๒๕๕๗ ๖,๓๓๓ ๗,๖๖๖ ๑๓,๙๙๙ ๓๘ ราย/วัน
๒๕๕๘ ๑๐,๗๑๒ ๑๓,๒๖๕ ๒๓,๙๗๗ ๖๖ ราย/วัน
รวม ๑๐๕,๖๒๒ ๑๐๒,๒๖๙ ๒๐๗,๘๙๑ ๕๖๙ ราย/วัน
หมายเหตุ : เนื่องจากในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ มีการใช้โปรแกรม OSCC Application ควบคู่ ท�าให้สถิติมีความคลาดเคลื่อนและมีจ�านวนตัวเลขต�่ากว่าปกติ
ที่มา: ส�านักบริหารการสาธารณสุข ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นอกจากนี้ ข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ตั้งแต่ปี
๒๕๕๐ - ๒๕๕๘ มีสตรีที่ถูกกระท�าความรุนแรงและเข้ามารับบริการ
ที่ศูนย์พึ่งได้ทั้งสิ้น ๑๐๒,๒๖๙ ราย สาเหตุส่วนใหญ่มาจากสัมพันธภาพ
ในครอบครัว การนอกใจ การหึงหวง การทะเลาะวิวาท ผู้กระท�าเป็น
คู่สมรสมากที่สุด รองลงมาคือ แฟน และในปี ๒๕๕๙ มีผู้มารับบริการ
เป็นเพศหญิง จ�านวน ๑๘,๙๑๙ ราย เพศชาย ๑,๐๗๙ ราย และ
เพศทางเลือก ๒๐ ราย เฉลี่ยมีผู้ถูกท�าร้าย ๕๕ ราย/วัน ปัจจัยส่วนใหญ่
มาจากสัมพันธภาพในครอบครัว ได้แก่ การนอกใจ การทะเลาะ
๕๐๗ มาตรา ๑๗ แห่ง พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดท�า
รายงานประจ�าปีแสดงจ�านวนคดีการกระท�าความรุนแรงในครอบครัว จ�านวนค�าสั่งก�าหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์ และจ�านวนการละเมิดค�าสั่งก�าหนดมาตรการหรือ
วิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์ของพนักงานเจ้าหน้าที่และศาล และจ�านวนการยอมความ และรายงานต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเพื่อทราบปีละครั้ง
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ 235 ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙