Page 235 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 235
๕๐๐
ดังนี้ (๑) ให้บุรุษและสตรีมีสิทธิเสมอภาคกันในการเลือกใช้นามสกุลหลังสมรส (๒) ให้ผู้สตรีที่สมรสหรือหย่าร้างแล้วเลือก
๕๐๑
ใช้ “นาง” หรือ “นางสาว”ได้ตามความสมัครใจ (๓) ให้สิทธิสตรีและบุรุษเสมอภาคกันในการเรียกค่าทดแทนจากผู้อื่น
ที่ร่วมประเวณี ข่มขืนกระท�าช�าเรา หรือพยายามข่มขืนกระท�าช�าเราคู่หมั้นของตน รวมทั้งในการฟ้องหย่าและเรียกค่าทดแทน
กรณีอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันภริยาหรือสามี เป็นชู้หรือร่วมประเวณีกับผู้อื่นเป็นอาจิณ ๔) ให้การข่มขืนกระท�า
๕๐๒
ช�าเราบุคคลอื่น รวมถึงภรรยาเป็นความผิดและบัญญัติค�านิยามของการข่มขืนกระท�าช�าเรากว้างขวางขึ้น ๕๐๓
ประเทศไทยยังมีการปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาให้คุ้มครองสิทธิมนุษยชนของสตรีใน
กระบวนการยุติธรรม โดยให้ทุเลาโทษจ�าคุกแก่จ�าเลยที่มีครรภ์หรือคลอดบุตรยังไม่ถึง ๓ ปี ให้นักโทษสตรีต้องประหารที่มี
ครรภ์รอการประหารมีก�าหนด ๓ ปี นับแต่คลอดบุตรและลดโทษเหลือจ�าคุกตลอดชีวิตเพื่อให้เลี้ยงดูบุตรได้ นอกจากนี้
๕๐๔
ประเทศไทยยังมีกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิสตรีที่ส�าคัญ อาทิ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘
๖.๘.๓ สถานการณ์ปี ๒๕๕๙
ปี ๒๕๕๙ เป็นปีสิ้นสุดของแผนพัฒนาสตรีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕
- ๒๕๕๙) ของประเทศไทย และมีการด�าเนินการจัดท�าร่างแผนพัฒนาสตรี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) อีกทั้งปี ๒๕๕๙ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช .... ที่ผ่านประชามติ
เมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ โดยมีบทบัญญัติเรื่องความเสมอภาคและสิทธิที่เท่าเทียมกันของหญิงและชาย ๕๐๖
๕๐๕
ทั้งนี้ ปี ๒๕๕๙ สถานการณ์สิทธิของสตรีของประเทศไทยในประเด็นส�าคัญ มีดังต่อไปนี้
ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (Gender Equality) จากรายงาน The Global Gender Gap Report 2016
แสดงดัชนีชี้วัดที่สะท้อนถึงสถานการณ์ความเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย โดยประมวลผลจากข้อมูลหลัก ๔ ด้าน คือ โอกาส
ในการส�าเร็จการศึกษา (Education) โอกาสและส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ (Economy) อ�านาจทางการเมือง (Politics )
มิติด้านสุขภาพและการด�ารงชีวิต (Health) และประเมินความก้าวหน้า/ถดถอย โดยเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้รับในปีปัจจุบัน คือ
ปี ๒๕๕๙ กับปี ๒๕๔๙ (ระยะเวลา ๑๐ ปี) แผนภาพที่ ๕
แผนภาพที่ ๕ ภาพรวมความเท่าเทียมทางเพศของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙ เปรียบเทียบ ปี ๒๕๔๙
๒๒ ๗๔
๑
โอกาสและสวนรวมทางเศรษฐกิจ โอกาสในการสําเร็จการศึกษา
อยูในลําดับที่ ๒๒ ลดลงจากลําดับที่ ๑๓ อยูในลําดับที่ ๗๔ ลดลงจากลําดับที่ ๗๒
๑๓๑
อํานาจทางการเมือง มิติดานสุขภาพและการดํารงชีวิต
อยูในลําดับที่ ๑๓๑ ลดลงจากลําดับที่ ๘๙ อยูในลําดับที่ ๑
ที่มา: The MOMENTUM. “สภาเศรษฐกิจโลกเผย คะแนนความเท่าเทียมทางเพศของไทยอยู่ที่อันดับ ๗๑ ตกจากอันดับ ๔๐ ในปี ๒๐๐๖”.
ค้นเมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๐. จาก http://themomentum.co/successful-datalab-wef-world-gender-equality
๕๐๐ พระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘
๕๐๑ พระราชบัญญัติค�าน�าหน้านามหญิง พ.ศ. ๒๕๕๑
๕๐๒ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔๔๕ - ๑๔๔๖ มาตรา ๑๕๑๖ และ ๑๕๒๓ ตามล�าดับ
๕๐๓ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๖ วรรค ๑ และ ๒ ตามล�าดับ
๕๐๔ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๔๖ และฉบับที่ ๒๘ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๙
๕๐๕ ปัจจุบันเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๐
๕๐๖ หมวด ๓ มาตรา ๒๗
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ 234 ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙