Page 166 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 166
(๑) ที่เลี้ยงสัตว์สาธารณประโยชน์บ้านทุ่งงิ้ว ๕๓๑ ไร่
ต�าบลสถาน อ�าเภอเชียงของ เป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของชาวบ้านในพื้นที่
(๒) ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ๖๕๑ ไร่ ต�าบลบ้านแซว
อ�าเภอเชียงของ เป็นพื้นที่เพาะปลูกของชาวบ้าน
(๓) ที่ราชพัสดุโรงงานยาสูบ ๘๗๐ ไร่ ต�าบลโป่งผา
อ�าเภอแม่สาย เป็นพื้นที่ที่มีชาวบ้านใช้เพาะปลูกยาสูบ
โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อประชาชนในสิทธิการใช้ประโยชน์ด้านการอนุรักษ์พื้นที่ป่าชุ่มน�้า และระบบนิเวศลุ่มน�้าอิง รวมถึงความกังวลใจต่อ
ผลกระทบของนิคมอุตสาหกรรมหากมีขึ้น และยังมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพท�าไร่ยาสูบ โดยเป็นพื้นที่ที่ประชาชนใช้ในการท�าไร่
และโรงบ่มใบยาสูบ และกระทบต่อแหล่งน�้าธรรมชาติ ๓๐๕
๔.๓.๓) เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลา
จังหวัดสงขลาเป็นด่านการค้าชายแดนที่ส�าคัญในการเชื่อมโยงการขนส่งสินค้าไปยังประเทศมาเลเซีย
ประกอบด้วย พื้นที่ต�าบลสะเดา ต�าบลส�านักขาม ต�าบลส�านักแต้ว ต�าบลปาดังเบซาร์ รวม ๕๕๒.๓ ตร.กม. (๓๔๕,๑๘๗.๕ไร่)
โดยมีด่านการค้าที่ส�าคัญคือ ด่านชายแดนสะเดา และด่านชายแดนปาดังเบซาร์เป็นจุดผ่านแดนถาวร เชื่อมต่อกับรัฐเคดาห์ และรัฐเปอร์ลิส
ประเทศมาเลเซีย มูลค่าการขายชายแดนสูงสุดอันดับหนึ่งและสองของไทยตามล�าดับ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนกรณีเฉพาะ
การจัดหาที่ดิน คสช. ได้มีค�าสั่งที่ ๑๗/๒๕๕๘ ก�าหนดให้พื้นที่บริเวณต�าบลส�านักขาม เนื้อที่ประมาณ ๑,๓๐๐ ไร่
จัดตั้งเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยที่ดินบริเวณดังกล่าวได้มาจากการยึดทรัพย์ของส�านักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ปปง.) และศาลได้มีค�าพิพากษาถึงที่สุดให้ตกเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ปัจจุบันถือเป็นที่ราชพัสดุอยู่ในความครอบครองของกรมธนารักษ์
โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลา ก่อให้เกิดผลกระทบกับประชาชน ที่เช่าพื้นที่ดังกล่าวจาก
ส�านักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เพื่อสร้างที่อยู่อาศัย ท�าการเกษตร และค้าขายมาเป็นเวลากว่า ๑๐ ปี ก่อนที่พื้นที่ บทที่
๕
จะกลายเป็นที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ ซึ่งต้องอพยพออกจากพื้นที่จ�านวน ๓๐๐ ครัวเรือน ผู้ได้รับผลกระทบกว่า ๒,๐๐๐ คน ๓๐๖
๔.๓.๔) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดนครพนม
จังหวัดนครพนมตั้งอยู่ในเส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North Southern Economic Corridor :
NSEC) และแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor : EWEC) ภายใต้กรอบ GMS ที่ผ่านมา
ตั้งแต่เปิดสะพานข้ามแม่น�้าโขงแห่งที่ ๓ (นครพนม-ค�าม่วน) เมื่อปี ๒๕๕๔ จังหวัดนครพนมได้กลายเป็นจังหวัดที่ได้รับการจับตามอง
ว่าเป็นพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ และก�าลังจะกลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการลงทุน การขนส่ง และการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคอีสานตอนบนของไทยซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับภาคกลางของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
และภาคกลางของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ตลอดจนเชื่อมโครงข่ายถึงประเทศจีน เนื่องจากจังหวัดนครพนมอยู่ในแนวเส้นทางการค้า
สายใหม่ตามเส้นทาง R 12 ที่สามารถเชื่อมโยงผ่านลาว-เวียดนาม-จีน นอกจากที่จะใช้เป็นเส้นทางการค้า การลงทุน การบริการแล้ว
เส้นทาง R 12 ถือว่าเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งทางบกที่ส�าคัญและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของประเทศจีน
ที่รุกลงใต้ โดยภาคอีสานของไทยคือ เป้าหมายที่ส�าคัญของจีนในการเปิดประตูลงสู่ใต้ของอาเซียน
ทั้งนี้ การจัดหาที่ดินเพื่อด�าเนินการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดนครพนม คณะอนุกรรมการด้าน
การจัดหาที่ดินและบริหารจัดการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ มีมติเห็นชอบพื้นที่ดินของรัฐ เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๘ จ�านวน
๓๐๕ การร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามค�าร้องที่ ๒๕๕/๒๕๕๙, ๒๕๗/๒๕๕๙, ๖๙๐/๒๕๕๙
๓๐๖ การร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามค�าร้องที่ ๒๒๑/๒๕๕๙
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ 165 ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙