Page 53 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 53

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ


                                                       ๑๕

               ค�าร้องที่ ๖๖/๒๕๕๕: กรณีอ้างว่านักเรียนถูกสั่งพักการเรียนโดยไม่เป็นธรรม



               ผู้ร้องได้ร้องเรียนว่าบุตรชายของผู้ร้องเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๑ ถูกสั่งพักการเรียน ตั้งแต่วันที่ ๒๕
           มกราคม ๒๕๕๕ ผู้ร้องเห็นว่าการสั่งพักการเรียนดังกล่าวไม่เหมาะสมและไม่เป็นธรรมต่อบุตรผู้ร้อง จึงให้คณะ
           กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตรวจสอบ

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาเห็นว่าเป็นประเด็นเรื่องสิทธิเด็กและสิทธิและเสรีภาพในการ
           ศึกษา จึงมอบหมายให้คณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และ

           ความเสมอภาคของบุคคล ด�าเนินการตรวจสอบ (รายงานผลการตรวจสอบ ที่ ๘๖๕/๒๕๕๕) พบว่าบุตรชายของ
           ผู้ร้องได้รับการพิจารณาให้ศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์การรับสมัคร
           นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ด้านความประพฤติ โดยมีเงื่อนไขให้ผู้ปกครองลงนามในหนังสือสัญญา ยินยอมย้าย

           สถานศึกษา หากนักเรียนมีปัญหาความประพฤติและลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการพัฒนานักเรียนที่ต้องการ
           ดูแลเป็นพิเศษว่าผู้ปกครองจะให้ความร่วมมือกับโรงเรียนในการดูแลด้านความรู้และความประพฤตินักเรียนให้มี
           การพัฒนาที่ดีขึ้น หากไม่สามารถปฏิบัติตามกฎของโรงเรียนได้ ผู้ปกครองยินดีน�านักเรียนไปเรียนสถานที่เหมาะ

           สมต่อไป หากนักเรียนท�าผิดระเบียบวินัยที่ทางโรงเรียนก�าหนดไว้ไม่ว่าข้อหนึ่งข้อใด นักเรียนต้องพ้นสภาพการเป็น
           นักเรียนโดยไม่มีข้อแม้ใด ๆ ทั้งสิ้น ซึ่งบุตรชายของผู้ร้องมีปัญหาด้านความประพฤติ ก้าวร้าวครูอาจารย์ ไม่เชื่อฟัง
           ค�าตักเตือน รวมกลุ่มกับเพื่อนกลั่นแกล้งเพื่อนที่อ่อนแอกว่า ก่อกวนเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอน เข้าห้องเรียน

           ช้า ไม่ตั้งใจเรียน ผลการเรียนต�่า เกรดเฉลี่ย ๐.๙๕ มาจากสาเหตุที่นักเรียนสนใจด้านเครื่องยนต์ เครื่องกล มากกว่า
           เรียนวิชาการซึ่งโรงเรียนแจ้งผู้ปกครองทราบ

               ผู้ร้องเห็นว่าการที่บุตรถูกกล่าวหาว่ากลั่นแกล้งเพื่อน และมีพฤติกรรมก้าวร้าว จนได้ท�าทัณฑ์บนไว้ การกระท�า
           ดังกล่าวนั้นก็ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่ามีการกระท�าผิดจริงและเป็นเพียงการหยอกล้อ การถูกพักการเรียนย่อม
           ส่งผลต่อคะแนนเก็บ คะแนนท�ารายงาน ท�าให้นักเรียนต้องซ�้าชั้นเป็นการเสียเวลา ส่งผลต่อสภาวะจิตใจเด็ก



               ต่อมา เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ ผู้ร้องได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าได้ให้บุตรชายลาออกจากโรงเรียนเนื่องจาก

           บุตรชายเกิดความเครียดจากการที่โรงเรียนจัดการเรียนการสอนแบบเป็นการเฉพาะตัว ท�าให้ไม่อยากไปเรียน และ
           ให้สมัครเข้าเรียนระดับ ปวช. ของโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งแล้ว
               คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนได้พิจารณาแล้วชี้แจงมายังคณะอนุกรรมการฯ ว่า

               • ประเด็นสั่งพักการเรียนบุตรชายผู้ร้องนั้น โรงเรียนได้แก้ไขปัญหาโดยการจัดให้นักเรียนมาเรียนกับรองผู้อ�านวย
           การฝ่ายวิชาการ และให้มาสอบปลายภาคตามที่โรงเรียนก�าหนด
               • ประเด็นที่โรงเรียนให้นักเรียนลาออกนั้น ผู้ปกครองได้ทราบถึงปัญหาด้านพฤติกรรมของนักเรียน และได้ท�า

           บันทึกตกลง ต่อมา ได้ยื่นหนังสือลาออกจากโรงเรียนแล้ว จึงไม่สามารถด�าเนินการเป็นอย่างอื่นได้ ทางคณะกรรมการ
           ส่งเสริมการศึกษาเอกชนได้มีหนังสือแจ้งให้ผู้ร้องทราบ
               คณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และความเสมอภาคของ

           บุคคล พิจารณาแล้วเห็นว่า ตาม พระรำชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มำตรำ ๒๒ บัญญัติว่า
               “การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใด ให้ค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นส�าคัญและไม่ให้มี กำรเลือกปฏิบัติโดย

           ไม่เป็นธรรม





                                                         52
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58