Page 54 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 54

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ






                     การกระท�าใดเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก หรือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อเด็กหรือไม่ ให้
                 พิจารณาตามแนวทางที่ก�าหนดในกฎกระทรวง”

                     ดังนั้น กำรที่โรงเรียนได้จัดท�ำบันทึกข้อตกลง และสัญญำไว้ก่อนกำรเข้ำศึกษำว่ำหำกนักเรียนไม่มีกำร
                 พัฒนำที่ดีขึ้น และไม่สำมำรถปฏิบัติตำมกฎระเบียบของโรงเรียน ผู้ปกครองยินดีน�ำนักเรียนไปเรียนในสถำนที่

                 เหมำะสม และรับรองว่ำผู้ปกครองจะควบคุมให้นักเรียนประพฤติอยู่ในระเบียบวินัยของโรงเรียน ถ้าหากนักเรียน
                 ท�าผิดระเบียบวินัยที่ทางโรงเรียนก�าหนดไว้ไม่ว่าข้อหนึ่งข้อใด นักเรียนต้องพ้นสภาพการเป็นนักเรียนโดยไม่มีข้อแม้
                 ใด ๆ ทั้งสิ้นนั้น เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อเด็ก

                     นอกจากนี้ การที่โรงเรียนได้ท�าสัญญาโดยมีเนื้อหาระบุให้บุตรชายผู้ร้องต้องพ้นสภาพนักเรียนด้วยเหตุท�าผิดกฎ
                 ระเบียบของโรงเรียน เป็นการก�าหนดเงื่อนไขที่เกินกว่า “การลงโทษ” ที่ก�าหนดไว้ในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ

                 ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘


                     ต่อมา เมื่อผู้ร้องแจ้งว่าบุตรชายได้ลาออกจากโรงเรียนไปแล้ว คณะอนุกรรมการฯ จึงยุติการตรวจสอบ และ

                 แจ้งความเห็นไปยังคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ และโรงเรียน ก. เพื่อระมัดระวัง
                 การด�าเนินการมิให้มีการละเมิดสิทธิเสรีภาพในการศึกษาของเด็กซึ่งได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญแห่งราช
                 อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐





                                                             ๑๖


                     ค�าร้องที่ ๒๓๙/๒๕๕๓: การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา



                     ผู้ร้องร้องเรียนว่าบุตรชายและบุตรสาวของผู้ร้อง ก�าลังเรียนอยู่ระดับชั้นประถมของโรงเรียนประถมสาธิต
                 มหาวิทยาลัยของรัฐแห่งหนึ่ง ถูกทางโรงเรียนเรียกเก็บเงินค่าเทอม คนละ ๒๗,๐๐๐ บาท หากไม่จ่ายทางโรงเรียน
                 ให้ลาออก หรือจะคัดชื่อออกจากโรงเรียน ซึ่งผู้ร้องอ้างว่าไม่เป็นไปตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และตาม

                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๔๙ ซึ่งบัญญัติให้เรียนฟรี ๑๒ ปี จึงขอให้ตรวจสอบ
                     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นว่าเป็นประเด็นเรื่องสิทธิในการศึกษา อันเป็นสิทธิและเสรีภาพที่ได้รับ
                 การรับรองคุ้มครองไว้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จึงเป็นกรณีเกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน

                 อยู่ในอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จึงมอบหมายให้คณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิด
                 สิทธิเด็ก สตรี และความเสมอภาคของบุคคลด�าเนินการตรวจสอบ และพิจารณาแล้วเห็นว่า โรงเรียนประถมสาธิต

                 ดังกล่าว มีการบริหารจัดการเทียบเท่าคณะ อยู่ภายใต้การก�ากับดูแลของมหาวิทยาลัย ตามข้อบังคับของ
                 สภามหาวิทยาลัย ว่าด้วยการจัดตั้งและการบริหารงานโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๑ บุคลากรของ
                 โรงเรียนเป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี

                 ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๗ ระเบียบสภามหาวิทยาลัย ว่าด้วยเรื่องพนักงานมหาวิทยาลัย หรือระเบียบ
                 กระทรวงการคลังว่าด้วยเรื่องการจ้างหรือลูกจ้างประจ�า พ.ศ. ๒๕๓๗ แล้วแต่กรณี รายได้ของโรงเรียนได้จากเงิน

                 อุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน เงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัย ค่าธรรมเนียม ค่าบ�ารุง ค่าตอบแทนและเงินรายได้จาก





                                                                53
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59