Page 40 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 40

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ




                 และต่อมา ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้มีหนังสือขอยกเว้นหลักเกณฑ์ดังกล่าวในต�าแหน่งสายงานแพทย์

                 และทันตแพทย์ โดยขอให้การก�าหนดต�าแหน่งสูงขึ้นของทั้งสองต�าแหน่งนี้เป็นระดับเชี่ยวชาญโดยไม่ต้องน�าต�าแหน่ง
                 ว่างมายุบรวม ซึ่งส�านักงาน ก.พ.อนุมัติตามที่ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอเฉพาะต�าแหน่งสายงานแพทย์
                 ท�าให้ต�าแหน่งสายงานแพทย์ที่ไม่ต้องน�าต�าแหน่งว่างมายุบรวมนั้น เป็นกรณีที่ส�ำนักงำน ก.พ. ปฏิบัติต่อบุคลำกร

                 ต�ำแหน่งสำยงำนอื่นที่ท�ำหน้ำที่ให้บริกำรสำธำรณสุขโดยไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะระหว่างบุคลากรที่มีสถานะเป็น
                 แพทย์ กับบุคลากรที่มีสถานะอื่น คือ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักรังสีการแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์
                 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักกายภาพบ�าบัด นักกิจกรรมบ�าบัด นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย นักจิตวิทยา

                 นักจิตวิทยาคลินิก และนักวิชาการสาธารณสุข ท�าให้ผู้ร้องกับพวกได้รับผลกระทบในเรื่องความก้าวหน้าในสายงาน
                 พยาบาล ทั้งที่เป็นบุคลากรต�าแหน่งสายงานที่ท�าหน้าที่ให้บริการสาธารณสุขเช่นเดียวกัน โดยที่สายงานพยาบาล

                 มิได้ประสงค์ที่จะต้องเป็นระดับเชี่ยวชาญทุกคนดังเช่นสายงานแพทย์ เพียงเพื่อให้พิจารณาปรับต�าแหน่งหัวหน้า
                 พยาบาล (พยาบาลวิชาชีพ ๘ วช.) ในส่วนที่ยังมิได้ด�าเนินการในเรื่องโรงพยาบาลชุมชนซึ่งมีเพียงโรงพยาบาลละ ๑
                 ต�าแหน่ง ให้ครบถ้วนเท่านั้น นอกจากนี้ การที่ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้มีหนังสือขอให้ส่วนราชการใน

                 สังกัดระงับการใช้ต�าแหน่งว่าง เพื่อน�าต�าแหน่งว่างดังกล่าวมาใช้บรรจุแต่งตั้งนักเรียนทุนของรัฐบาลในสายงานแพทย์
                 และทันตแพทย์ เป็นกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อบุคลำกรต�ำแหน่งสำยงำนอื่นที่ท�ำหน้ำที่ให้บริกำรสำธำรณสุข



                                                              ๒


                     ค�าร้องที่  ๔๘๗/๒๕๕๔:  กรณีค�าสาบานตนก่อนเบิกความในศาลของแต่ละศาสนามีความ
               แตกต่างกัน



                     ผู้ร้องอ้างว่า การสาบานตนก่อนเบิกความตามข้อความในแบบพิมพ์ของศาล ซึ่งให้ผู้ร้องสาบานว่า “หาก
                 ข้าพเจ้า (พยาน) เอาความเท็จมากล่าวอ้างแม้แต่น้อย ขอภยันตรายและความวิบัติทั้งปวงจงเกิดแก่ข้าพเจ้า (พยาน)
                 และครอบครัว (พยาน) โดยพลัน” เป็นการละเมิดสิทธิของบุคคลในครอบครัว ขัดต่อบทบัญญัติมาตรา ๓๕ ของ

                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
                     คณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านกฎหมายและการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม พิจารณาข้อ
                 เท็จจริงประกอบกับหลักกฎหมาย เช่น รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๑๒ วรรคหนึ่ง

                 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๗๑ แล้วเห็นว่า จากบทบัญญัติกฎหมายดังกล่าว ผู้ที่จะให้การต่อศาลต้องกล่าว
                 ค�าสาบานตนหรือค�าปฏิญาณก่อนเบิกความ หากไม่ปฏิบัติตามต้องได้รับโทษตามที่ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติ

                 ไว้ ซึ่งในการกล่าวค�าสาบานหรือค�าปฏิญาณจะเป็นไปตามลัทธิทางศาสนาหรือจารีตประเพณีที่แต่ละคนนับถือ และ
                 เป็นเรื่องความน่าเชื่อถือของพยาน ซึ่งศาลได้ก�าหนดรูปแบบตัวอย่างค�าสาบานของแต่ละศาสนาเพื่อความสะดวก
                 คณะอนุกรรมการฯ มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวมต่อส�านักงานศาลยุติธรรม ส�านักงานศาลปกครอง และ

                 กรมพระธรรมนูญ เพื่อพิจารณาถึงรูปแบบและแนวทางการปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็น
                 ระบบในทุกชั้นศาลและเพื่อความเป็นสากล โดยควรที่จะเป็นการเฉพาะตัวของบุคคลที่กล่าวค�าสาบาน ซึ่งไม่ควรมี

                 การอ้างถึงครอบครัวในทุกศาสนา เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา ๓๐ และ ๓๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                 พุทธศักราช ๒๕๕๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีมติเห็นด้วยกับความเห็นและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
                 ของคณะอนุกรรมการฯ (รายงานผลการพิจารณา ที่ ๖๔๗/๒๕๕๕)





                                                                39
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45