Page 35 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 35
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
มิติของ เหตุแห่ง
การเลือกปฏิบัติ การเลือกปฏิบัติ การเลือกปฏิบัติ
โดยตรง (Area of (Discrimination
(Direct Discrimination) Ground)
Discrimination)
จ้างแรงงาน เชื้อชาติ
ประกอบอาชีพ ศาสนา ความเชื่อ หลักความเสมอภาค
หรือ
บริการภาครัฐ สีผิว ความเท่าเทียมกัน
(Equality)
ความพิการ
บริการภาค
เอกชน
การเลือกปฏิบัติ เพศ
โดยอ้อม
(Indirect รสนิยมทางเพศ
Discrimination) ฯลฯ
กรอบความหมายและขอบเขตของ กฎหมาย
การห้ามเลือกปฏิบัติ ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน ห้ามเลือกปฏิบัติ
ระหว่างประเทศ และกฎหมายต่างประเทศ (กฎหมายภายใน)
หลักขอบแห่งดุลพินิจ
(Margin of Appreciation)
การชั่งน�้าหนักกับผลประโยชน์อื่น กฎหมายกลาง
มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก
(Affirmative Action)
กฎหมายเฉพาะ
การปฏิบัติที่แตกต่างกัน การปฏิบัติที่แตกต่างกัน
(Distinction / Differentiation) (Distinction / Differentiation)
ที่ไม่อยู่ในกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชน ที่อยู่ในกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชน
จากกรอบแนวคิดการวิจัยดังกล่าว งานวิจัยนี้จึงจะเริ่มจากการศึกษาหลักการ แนวคิด และขอบเขต
ความหมายของหลักความเท่าเทียมกันและการห้ามเลือกปฏิบัติในกรอบของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
จากนั้นจึงศึกษากรณีเฉพาะเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุต่าง ๆ และในมิติต่าง ๆ เป็นล�าดับต่อไป โดยการศึกษา
วิจัยจะมีโครงสร้างแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ดังนี้
34