Page 33 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 33
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
• ในมิติของบริการสาธารณะและบริการสังคม การเข้าถึงสินค้าและ/หรือบริการ จากผู้ประกอบการ
เอกชน นอกจากการเลือกปฏิบัติในมิติของการเข้าถึงบริการสาธารณะที่จัดท�าโดยภาครัฐแล้ว
ยังปรากฏว่ามีการเลือกปฏิบัติโดยภาคเอกชนซึ่งเป็นผู้ประกอบการสินค้าและ/หรือบริการ โดย
เหตุการณ์เลือกปฏิบัติอาจเกี่ยวข้องกับเหตุที่กฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายประเทศต่าง ๆ
คุ้มครอง เช่น การปฏิเสธให้บริการด้วยเหตุแห่งเชื้อชาติ สีผิว เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทย
ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองในประเด็นนี้โดยเฉพาะแต่อย่างไร นอกจากนี้ ยังมีกรณีการปฏิบัติที่
“มีลักษณะกีดกัน” หรือ “ท�าให้เกิดความพึงพอใจน้อยกว่าคนอื่น” (Less Favorable Treatment)
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยค�าพูดหรือการสื่อสาร ซึ่งท�าให้เกิดความเกลียดชัง (Hate
Speech) ด้วยเหตุต่าง ๆ เช่น เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยทั้ง ๒ ดังกล่าวข้างต้น จะได้น�ามาใช้ในการจ�าแนกวิเคราะห์สภาพปัญหาและข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อไป โดยอาจสรุปความสัมพันธ์ของปัจจัยทั้ง ๒ ตามแผนภาพต่อไปนี้
หลักความเสมอภาค (Equality)
หรือหลักความเท่าเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติในมิติต่าง ๆ เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ
(Area of Discrimination) (Ground of Discrimination)
การจ้างแรงงาน เหตุแห่งเพศ (Sex)
และการประกอบอาชีพ
รสนิยมทางเพศ
การศึกษา (Sexual Orientation)
บริการสาธารณะ บริการสาธารณะ
สินค้าและบริการภาคเอกชน สินค้าและบริการภาคเอกชน
การปฏิบัติที่ท�าให้พึงพอใจ การปฏิบัติที่ท�าให้พึงพอใจ
น้อยกว่าคนอื่นในพื้นที่ น้อยกว่าคนอื่นในพื้นที่
สาธารณะ / การปฏิบัติ สาธารณะ / การปฏิบัติอัน
อันมีลักษณะการกีดกัน (Less มีลักษณะการกีดกัน (Less
Favorable Treatment) Favorable Treatment)
32