Page 81 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 81

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               ธุรกิจ เป็นต้น อีกทั้งรัฐบาลจะต้องให้ความชัดเจนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาผลกระทบสิทธิมนุษยชนที่กระท า

               โดยภาคธุรกิจและก าหนดกิจกรรมหรือมาตรการเพื่อตอบสนองความมุ่งมั่นนั้น ตลอดจนการจัดท าตัวชี้วัดเพื่อ
               ประเมินผลการด าเนินงาน และในท้ายที่สุดจะต้องมีการกลไกในการตรวจสอบและก าหนดกรอบเวลาเพื่อการ

               ปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ส่วนที่สองนั้นเป็นการให้ความส าคัญกับหลักการท าแผน NAP เมื่อ

               ต้องพัฒนาและร่างแผน NAP ขึ้น โดยจะต้องมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาผลกระทบอย่างเป็นรูปธรรม โดย
               อาศัยหลักการ UNGP  เพื่อจ าแนกวิธีการแก้ไขผลกระทบสิทธิมนุษยชนที่ร้ายแรงนั้น หลักจากนั้นจึงหาความ

               เชื่อมโยงและผสมผสานระหว่างมาตรการในประเทศและต่างประเทศทั้งที่เป็นลักษณะเชิงบังคับและโดยสมัคร

               ใจ และสุดท้ายคือการรับรองการคุ้มครองให้มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงประเด็นความเสมอภาคทางเพศ


                       เอกสารชุดนี้ได้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นเอกสารอ้างอิงให้กับผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
               จัดท าแผนปฏิบัติการแห่งชาติ (NAP) เพื่อให้ประเทศต่างๆ ศึกษาและน าไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบท

               ประเทศของตนได้


                       ปัจจัยเอื้อที่ส าคัญคือบทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในต่างประเทศที่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับ

               รัฐบาลในการจัดท าแผน NAP  ทั้งนี้เพราะการจัดท าแผน NAP  จ าเป็นต้องอาศัยข้อมูลพื้นฐานเพื่อการจัดท า
               เช่น baseline study ซึ่งข้อมูลนี้เป็นข้อมูลที่สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้ด าเนินการจัดท าไว้อยู่แล้ว


                       อย่างไรก็ดี เอกสารฉบับนี้เป็นเพียงแนวทางการด าเนินการของรัฐโดยสมัครใจ ซึ่งรัฐอาจจะไม่ได้ให้

               ความส าคัญกับแผน NAP ก็เป็นได้ โดยไม่ได้แนะน าแนวทางในการสร้างความตระหนักในเรื่องดังกล่าว


                       นอกจากนี้ ในการจัดท าแผน NAP รัฐจะต้องเปิดกว้างและยอมรับการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน จาก
               ผู้มีส่วนได้เสียทุกรายเพื่อให้กระบวนการ ขั้นตอนในการจัดท ามีความโปร่งใส อีกทั้งจะต้องมีความมุ่งมั่นที่จะ

               ด าเนินการจัดท าแผนดังกล่าว ซึ่งการมีส่วนร่วมของภาคส่วน การเปิดเผยและเข้าถึงข้อมูล ความตระหนักใน

               การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนยังคงเป็นประเด็นที่ท้าทายรัฐอยู่






























                                                           3-11
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86