Page 79 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 79

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                                                                                                  10
                       3.1.4   Guidance on National Action Plans on Business and Human Rights

                       ข้อเสนอแนะว่าด้วยการจัดท าแผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน จัดท าโดย

               คณะท างานแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและบรรษัทข้ามชาติและองค์กรธุรกิจอื่น (UN  Working
               Group  on  the  issue  of  human  rights  and  transnational  corporation  and  other  business

               enterprises) นั้น ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นเอกสารอ้างอิงให้กับผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
                                               11
               จัดท าแผนปฏิบัติการแห่งชาติ (NAP)  เพื่อให้ประเทศต่างๆ ศึกษาและน าไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบท
               ประเทศของตน


                       แผน NAP ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจเป็นยุทธศาสตร์ทางนโยบายที่ได้รับการพัฒนา

               โดยรัฐเพื่อคุ้มครองผลกระทบสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงซึ่งกระท าโดยภาคธุรกิจ โดยแผน NAP จะมีความ

               สอดคล้องไปกับหลักการ UNGP ทั้งนี้ แผน NAP มีองค์ประกอบที่ส าคัญ 4 ประการ ดังนี้

                       1)  แผน NAP จ าเป็นที่จะต้องสะท้อนหน้าที่ของรัฐภายใต้กฎหมายสิทธิมนุษยชนสากลเพื่อให้ความ

                 คุ้มครองการกระท าละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคธุรกิจและหาแนวทางเยียวยาการละเมิดนั้น แผน NAP ยัง

                 จ าเป็นต้องส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชนผ่านกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาค
                 ธุรกิจ นอกจากนี้ แผน NAP จะต้องได้รับการสนับสนุนโดยหลักการพื้นฐานสิทธิมนุษยชนว่าด้วยการไม่เลือก

                 ปฏิบัติและความเสมอภาค


                       2)  แผน NAP จะต้องเฉพาะเจาะจงกับบริบทและระบุปัญหาผลกระทบสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรง

                 ของภาคธุรกิจที่เป็นจริง รัฐบาลควรที่จะก าหนดมาตรการที่ตอบสนองต่อผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเพื่อ
                 ป้องกันและเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้น


                       3)  แผน NAP จะต้องจัดท าด้วยกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมและโปร่งใส ผู้มีส่วนได้เสียควร

                 ได้รับโอกาสในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนา และปรับปรุงแผน NAP โดยความเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย

                 จะต้องรับการพิจารณา และเปิดโอกาสให้เข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นอย่างโปร่งใสในทุกๆ ขั้นตอน

                       4)  แผน NAP จะต้องได้รับการทบทวนและปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะต้องตอบสนองต่อ

                 บริบทที่เปลี่ยนแปลงไปและรับมือกับสภาวะการณ์การเปลี่ยนแปลงนั้นๆ








               10
                    United Nations Working Group on Business and Human Right. (2014). “Guidance on National Action
                   Plans on Business and Human Rights.” Geneva: United Nations.
               11
                    แผนปฏิบัติการแห่งชาติ (NAP) ในรายงานฉบับนี้ให้มีความหมายถึง “แผนปฎิบัติการภายในประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
                   และการประกอบธุรกิจ” และ “แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน”



                                                           3-9
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84