Page 80 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 80
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
ทั้งนี้ในการจัดท าแผน NAP รัฐบาลควรที่จะค านึงถึงขั้นตอนซึ่งประกอบไปด้วย 5 ระยะ 15 ขั้นตอน
โดยระยะที่ 1-3 เป็นการพัฒนาแผน NAP และในระยะที่ 4-5 เป็นการด าเนินการ ตรวจสอบและปรับปรุงแผน
NAP ให้มีความทันสมัยต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน ดังนี้
ระยะที่ 1 : ระยะเริ่มต้น
1. แสวงหาและเผยแพร่ความมุ่งมั่นอย่างเป็นทางการของรัฐบาล
2. สร้างรูปแบบความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและก าหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละด้าน
3. สร้างรูปแบบการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ
4. พัฒนาและเผยแพร่แผนงานและจัดสรรทรัพยากรในการจัดท าแผนให้เพียงพอ
ระยะที่ 2 : การประเมินผลและการปรึกษาหารือ
5. ท าความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบสิทธิมนุษยชนที่ร้ายแรงกระท าโดยภาคธุรกิจ
6. จ าแนกช่องว่างของรัฐและเอกชนในการด าเนินการตามหลักการ UNGP
7. ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียและจ าแนกประเด็นส าคัญที่ต้องด าเนินการก่อน
ระยะที่ 3 : การร่างแผน NAP
8. ร่างแผน NAP
9. น าเสนอร่างและปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย
10. จัดท าแผน NAP เป็นฉบับสมบูรณ์และเผยแพร่แผน NAP ต่อสาธารณะ
ระยะที่ 4 : การด าเนินการ
11. ด าเนินการตามแผนการและประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบ
12. รับรองให้มีการตรวจสอบของผู้มีส่วนได้เสีย
ระยะที่ 5 : การปรับปรุงแผน NAP
13. ประเมินผลกระทบของแผน NAP ที่ผ่านมาและจ าแนกช่องว่างที่เกิดขึ้น
14. ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียและจ าแนกประเด็นส าคัญที่ต้องด าเนินการก่อน
15. ร่างแผน NAP จากนั้นจึงน าเสนอร่างและปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย แล้วจึงจัดท าแผน NAP
เป็นฉบับสมบูรณ์และเผยแพร่แผน NAP ต่อสาธารณะ
เนื้อหาสาระของแผน NAP แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) โครงสร้างและเนื้อหาของแผน NAP และ 2)
หลักการท าแผน NAP ของภาครัฐ โดยในส่วนแรกนั้น ในคู่มือได้แนะน าให้รัฐบาลควรมีข้อความที่แสดงถึง
ความมุ่งมั่นในการด าเนินการตามหลักการ UNGP และแสดงให้เห็นว่าแผน NAP นั้นจะสามารถเชื่อมโยงกับ
นโยบายต่างๆ ของรัฐได้อย่างไร เช่น แผนพัฒนาในประเทศ หรือยุทธศาสตร์ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
3-10