Page 75 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 75

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               สิทธิมนุษยชน เนื้อหาของหลักปฏิบัตินี้จ าแนกออกเป็น 3  ส่วน ส าหรับภาครัฐ ภาคเอกชน และกลไกการ

               เยียวยา


                       ส าหรับกลไกการบังคับใช้ เนื่องจากหลักการชี้แนะนี้ใช้เป็นกรอบแนวคิดส าหรับองค์กรต่างๆ เพื่อ
               จัดการความเสี่ยงจากผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน และน าเสนอบรรทัดฐานส าหรับผู้มีส่วนได้เสียในการ

                                                          7
               ประเมินการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน   โดยสมัครใจเท่านั้น จึงมิได้ก าหนดกลไกบังคับในการ
               ปฏิบัติที่ชัดเจนแต่อย่างใด


                       อาจกล่าวได้ว่าหลักการชี้แนะนี้เปิดโอกาสให้บริษัทด าเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ โดยพิจารณา
               ถึงผลกระทบขององค์กรต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ อย่างไรก็ตาม มีข้อวิพากษ์วิจารณ์ว่า


                       1)  ไม่ได้ระบุอย่างเฉพาะเจาะจงว่าบริษัทต้องปฏิบัติอย่างไร เพื่อแสดงความรับผิดชอบด้าน

                          สิทธิมนุษยชน เพียงแต่น าเสนอมาตรฐานที่ให้บริษัทน าไปปรับใช้เท่านั้น


                       2)  ไม่รวมการก ากับดูแลอื่นๆ เช่น แนวปฏิบัติของ OECD  หรือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
                          รวมทั้งการด าเนินการภายใต้กฎหมายของแต่ละประเทศเข้ามา ท าให้บริษัทไม่สามารถน าหลัก

                          ปฏิบัติชุดนี้ไปประยุกต์ใช้โดยล าพังอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีกลไก การก ากับดูแลที่

                          ชัดเจนและกว้างขวางกว่า การอ้างว่าตนเองปฏิบัติตามหลักการนี้ ไม่สามารถปกป้องบริษัทจาก
                          การฟ้องร้องทางกฎหมาย หรือการวิพากษ์วิจารณ์ของสาธารณะได้


                       3)  ไม่ได้ให้แนวปฏิบัติที่ชัดเจนส าหรับบริษัทแม่ ในกรณีที่บริษัทลูกถูกกล่าวหาว่าละเมิดสิทธิ

                          มนุษยชน นอกจากนี้ ยังมีค าถามถึงการด าเนินงานของบริษัทในพื้นที่ที่มีความขัดแย้ง หรืออยู่ใน

                          รัฐที่กดขี่ประชาชนซึ่งหลักการชี้แนะชุดนี้เพียงแต่ชี้ให้เห็นถึงประเด็นกฎหมาย ในประเทศที่
                          บริษัทต้องค านึงถึงเท่านั้น แต่มิได้พยายามจัดท าแนวทางเพื่อหลีกเลี่ยงความซับซ้อนของการ

                          ละเมิดสิทธิมนุษยชนได้ ดังนั้น บริษัทจึงต้องก าหนดทิศทางเหล่านี้เอง โดยไม่ได้รับค าแนะน ามาก

                          นักจากหลักปฏิบัติชุดนี้

                       4)  แม้ว่าหลักปฎิบัตินี้จะได้ระบุถึงกลไกการเยียวยาที่หลากหลาย แต่สิ่งที่ขาดไป คือ การประยุกต์ใช้

                                                                                        8
                          กลไกต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งกระบวนการจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นมักใช้หลายวิธีการ







               7
                  United Nations Human Rights Office of the High Commission. (2012). “The Corporate Responsibility
                   to Respect Human Rights: Interpretation Guide.” Geneva: United Nations.
               8
                  Surya Deva. (2012). “Regulating Corporate Human Rights Violations: Humanizing Business.
                   ”London: Routledge.



                                                           3-5
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80