Page 28 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 28

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                       5.  การบริหารจัดการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งประเทศนิวซีแลนด์ ส่งเสริมการพัฒนา

                          ความสัมพันธ์ที่หลากหลาย เน้นการไกล่เกลี่ยตามระดับความเข้มข้น และมีศาลทบทวน
                          สิทธิมนุษยชน (Human  Rights  Review  Tribunal:  HRRT) เป็นทางออกสุดท้ายในการ

                          ด าเนินงาน

                       ขณะที่ประเทศไทย เมื่อพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบงานตรวจสอบการละเมิด

               สิทธิมนุษยชน นอกเหนือจาก กสม. ยังมีองค์กรที่ท าหน้าที่ตรวจสอบข้อร้องเรียนอยู่อีก 3 หน่วยงาน ซึ่งจะมี

               ขอบเขตอ านาจและภารกิจที่เฉพาะเจาะจงตามความรับผิดชอบ ภายใต้กฎหมายของหน่วยงานเฉพาะ  ดัง
               แผนภาพที่ 2.2




               แผนภาพที่ 2.2  องค์กรตรวจสอบข้อร้องเรียนด้านสิทธิมนุษยชนที่นอกเหนือจาก กสม. ในประเทศไทย













               ที่มา:   ศูนย์เครือข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจัยความสุขชุมชน (ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ,
                       (2556). “การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตาม

                       มาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.” ส านักงานคณะกรรมการสิทธิ
                       มนุษยชนแห่งชาติ.


                       ในส่วนที่สองแสดงให้เห็นถึงบทบาทการด าเนินงานที่ผ่านมาของ กสม. พบประเด็นที่ส าคัญ อาทิ

               การที่ กสม. ได้เล็งเห็นถึงปัญหาในกระบวนการท างานตรวจสอบขององค์กรที่ส่งผลให้เกิดความล่าช้า การ

               เยียวยาไม่สามารถท าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงได้ด าเนินการศึกษาวิจัยเพื่อประเมินศักยภาพที่จะเป็น
               แนวทางพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


                       ในส่วนสุดท้าย บทบาทที่ควรจะเป็นของ กสม. ผ่านข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยที่
               อาจจะน าไปสู่การด าเนินงานที่มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น พบว่า มีแนวทางต่างๆ ที่ กสม. ควร

               จะส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการตรวจสอบ โดยมี

               รายละเอียดดังต่อไปนี้

                       1.   การป้องกันปัญหาความซ้ าซ้อนในกระบวนการท างาน ควรปรับลดขั้นตอนการด าเนินงานให้มี

                          ความกระชับมากขึ้น (โดยแบ่งเป็น 3 ขั้น คือ กระบวนการรับเรื่อง   ตรวจสอบและติดตาม





                                                           2-6
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33