Page 29 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 29

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                          ประเมินผล) ซึ่งจะท าให้ขั้นตอนการวินิจฉัย การพิจารณามูลละเมิดและการด าเนินการไกล่เกลี่ยมี

                          ความเหมาะสมตามหน่วยงานมากขึ้น

                       2.   การด าเนินงานควรมุ่งเน้นพัฒนาระบบการตรวจสอบและการพัฒนาบุคลากรที่รับผิดชอบควบคู่

                          กัน ผ่านการอบรมเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ
                          อันจะเป็นการพัฒนาความสามารถ สร้างประสิทธิภาพและลดทอนข้อจ ากัดต่างๆ ในการ

                          ด าเนินงาน

                       3.   กระบวนการด าเนินงานควรเน้นการกระจายความรับผิดชอบ โดยค านึงถึงการใช้ทักษะ

                          ความสามารถที่เหมาะสมของบุคลากร ซึ่งจะเป็นการลดขั้นตอนการด าเนินงานที่ท าให้เกิดความ

                          รวดเร็วและหน่วยงานที่รับผิดชอบสามารถท างานสนับสนุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                       4.   การด าเนินงานควรมีการก าหนดมาตรฐานและระบบการคัดเลือกบุคลากร เพื่อแก้ปัญหาการ

                          คัดเลือกบุคลากรที่อาจมีความอคติล าเอียง

                       5.   กสม. ควรมีการก าหนดหลักเกณฑ์การด าเนินงานตามขั้นตอนต่างๆ ให้เป็นไปตามรูปแบบการ

                          พัฒนาคู่มือมาตรฐานการด าเนินงาน (Standard  Operating  Procedure:  SOP) ให้ชัดเจน

                          เพื่อที่จะช่วยควบคุมให้การด าเนินการเป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน (ขั้นตอน กรอบเวลา มาตรฐาน
                          และเนื้อหาที่ชัดเจน) และสามารถปรับเปลี่ยนแนวทางการท างานให้เหมาะสมตามช่วงเวลา (ไตร

                          มาส ครึ่งปี รายปี)

                       6.   กระบวนการตรวจสอบของ กสม. ควรสร้างการด าเนินงานร่วมกันระหว่างคณะอนุกรรมการและ

                          ฝ่ายเลขานุการที่รับผิดชอบเพื่อให้งานออกมามีประสิทธิภาพตามคู่มือมาตรฐานการท างาน

                          (Standard Operating Procedure: SOP) สนับสนุนการท างานทั้งเชิงรุกและเชิงรับโดยไม่รอรับ
                          เพียงเอกสารชี้แจงจากหน่วยงาน


                       7.   กระบวนการด าเนินงานควรมีแนวทางที่ชัดเจนในการสรุปผลการตัดสินใจ ทั้งประเด็นการไม่รับ

                          เรื่อง การประสานการคุ้มครองและการรับเรื่องเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบ เพื่อน าไปสู่
                          กระบวนการปฏิบัติที่สอดคล้องเหมาะสมต่อไป


                       8.   กสม. ควรมีกระบวนการไกล่เกลี่ยเบื้องต้นที่สามารถยุติปัญหาได้โดยไม่ต้องน าเรื่องเข้าสู่
                          กระบวนการตรวจสอบ เพื่อที่จะลดปริมาณเรื่องที่จะเข้าสู่กระบวนการท างานของ กสม. (ลด

                          ภาระ เวลา ทรัพยากรและบุคลากรในการท างานให้น้อยลง)

                       9.   กสม. ควรสนับสนุนให้เกิดกระบวนการไกล่เกลี่ยในทุกขั้นตอนการด าเนินงานเพื่อให้สามารถหา

                          ข้อยุติที่ลงตัวได้ตลอดเวลา ส่งเสริมการฝึกฝนบุคลากรให้เกิดทักษะความช านาญ และสร้าง

                          เครือข่ายการท างานกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้





                                                           2-7
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34