Page 11 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)
P. 11

ของฝ่ายต่างๆ ได้ (Harrison, 2013) การที่บริษัทพัฒนาผลการด าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของตนเองและสร้าง

            ความเปลี่ยนแปลงต่อโครงสร้างการท างานภายในบริษัทได้ มากกว่าการด าเนินการเมื่อมีความท้าทายจากภายนอก


            เท่านั้น
                  จากการส ารวจของ German Global Compact Network และ econsense เมื่อปี 2557 เกี่ยวกับปัจจัยที่มี

            ผลต่อการจัดท าการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านของบริษัท 39 แห่ง พบว่านอกจากปัจจัยภายนอกซึ่ง

            ได้แก่ ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียและการที่บริษัทเข้าร่วมเป็นสมาชิกของเครือข่ายด้าน

            ธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแล้ว ปัจจัยภายในซึ่งหมายถึงการที่ผู้บริหารระดับสูงแสดงความตั้งใจที่จะสนับสนุนการ

            คุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจังผ่านช่องทางต่างๆ เช่น มีข้อผูกมัดทางนโยบาย การแสดงให้เห็นว่าสิทธิมนุษยชนจะ

            กลายเป็นข้อได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจได้ ก็เป็นสิ่งส าคัญไม่แพ้กัน (Global Compact Network Germany &


            econsense, 2014)
                  นอกจากนี้กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านถือเป็น ‘a game-changer’ ส าหรับบริษัท

            ต่างๆ เนื่องจากสามารถเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับสิทธิมนุษยชนจากการ “naming and shaming” ที่มา

            จากผู้เล่นภายนอกซึ่งสะท้อนความล้มเหลวของบริษัทในการปกป้องสิทธิมนุษยชน มาเป็น “knowing and showing”

            ซึ่งเป็นผลการปฏิบัติงานของบริษัท แนวทางเช่นนี้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบริษัทมากมาย แทนที่จะรอให้นักรณรงค์หรือ

            สื่อสร้างผลกระทบทางลบแก่บริษัท (Harrison, 2013)  การจัดท ารายงานการประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน

            ท าให้รัฐและองค์กรประชาสังคมซึ่งมีบทบาทในการก ากับดูและตรวจสอบการปฏิบัติงานของบริษัท ตั้งประเด็นค าถาม


            ที่ถูกต้องได้ (The Myanmar Centre for Responsible Business, 2015)



            แนวโน้มของกระบวนการ HRDD ในอนาคต


                  การจัดท า HRDD อาจไม่ใช่มาตรการเชิงสมัครใจอีกต่อไป เมื่อรัฐบาลหลายประเทศเริ่มบังคับให้บริษัทต้อง

            จัดท ารายงานด้านสิทธิมนุษยชนมากขึ้น เช่นเดียวกับองค์การระหว่างประเทศต่างๆ

                  แนวโน้มของการบังคับทางกฎหมายยังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ  ไม่ว่าเป็น กลุ่มสหภาพยุโรปที่ได้ออกกฎระเบียบ EU

            Non-Financial Reporting Directive of 2014 ก าหนดให้บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และมีลูกจ้าง 500

            คนขึ้นไป จัดท ารายงานเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ในรายงานต้องเปิดเผยนโยบาย ผลการด าเนินงาน และ

            ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน รวมทั้งเปิดเผยแนวทางการ

            แก้ไขปัญหา (Business & Human Rights Resource Centre, 2014)  มีผลบังคับใช้ในปี 2560 ความตื่นตัวจากการ

            ละเมิดสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมายังก่อให้เกิดกฎหมายที่เกี่ยวข้องอีกหลายฉบับใน

            หลายประเทศ เช่น UK Modern Slavery Act 2015 ที่ก าหนดให้บริษัทมีกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชน

            อย่างรอบด้านเพื่อเป็นกรอบในการป้องกัน บรรเทาความเสี่ยงจากการค้าทาสสมัยใหม่ในห่วงโซ่อุปทาน California

                                                                                                          11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16