Page 64 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 64

(๒) สภาพการณ์และสภาพปัญหาโดยรวมของเหตุการณ์  มิติระหว่างประเทศ  ซึ่งส่งผลให้การด�าเนินการสอบสวน
               กวาดล้างยาเสพติดในประเทศเม็กซิโก พบว่า ในปี ค.ศ. ๒๐๐๖   ข้อเท็จจริงเป็นไปด้วยดีและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  และ
               (พ.ศ. ๒๕๔๙) นายเฟลิเป้ คาลเดรอน ประธานาธิบดีของประเทศเม็กซิโก    เจ้าหน้าที่ของรัฐได้เรียนรู้เทคนิคและทักษะในการสอบสวน
               ได้จัดท�านโยบาย “ท�าสงครามกับยาเสพติด” (the “war on drugs”)    การกระท�าอันเป็นการบังคับบุคคลให้สูญหายไปด้วยในตัว ซึ่งเป็นการ
               อันน�ามาซึ่งปัญหาการก่ออาชญากรรมร้ายแรงในลักษณะต่าง ๆ เกิดขึ้น    ก่ออาชญากรรมที่มีเงื่อนไขการด�าเนินการเป็นการเฉพาะและแตกต่าง
               “ในวงกว้าง” “อย่างต่อเนื่อง” และ “อย่างเป็นระบบ” โดยเฉพาะ   ไปจากการกระท�าความผิดอาญาทั่วไป (๒) การปฏิบัติตามข้อผูกพัน
               อย่างยิ่งปรากฏข้อเท็จจริงว่าในระหว่างระยะเวลาด�าเนินนโยบาย   ตามกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศ รัฐบาลแห่งประเทศเม็กซิโกมีหน้าที่
               ดังกล่าวตลอดหกปีนั้นมีบุคคล “ถูกลักพาตัว” หรือ “ถูกบังคับ   ที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามพันธกรณีตามที่ก�าหนดไว้ในอนุสัญญา
               ให้สูญหาย” อย่างกว้างขวาง (widespread enforced disapperances)   ทุกฉบับที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและการกระท�า
               เป็นจ�านวนสูงมากถึงขนาดผิดปกติ จากปัญหาดังกล่าวได้ผลักดัน   อันเป็นการบังคับบุคคลให้สูญหาย ซึ่งนอกจากการปรับปรุงกฎหมาย
               ให้เกิดกระแสการต่อต้านและเรียกร้องอย่างกว้างขวางของประชาชน   ภายในประเทศให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การคุ้มครองมิให้บุคคล
               ชาวเม็กซิโกที่ได้รับผลกระทบ และกระแสเรียกร้องจากองค์กรต่าง ๆ    ถูกบังคับให้สูญหายตามที่ก�าหนดในอนุสัญญาทั้งหลายแล้ว
               ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ โดยเฉพาะองค์กรเฝ้าระวังด้าน
               สิทธิมนุษยชนที่ต้องการให้รัฐบาลท�าความจริงให้ปรากฏ และเยียวยา
               ความเสียหายที่ประชาชนชาวเม็กซิโกผู้บริสุทธิ์จ�านวนมหาศาลได้รับ
               จากการด�าเนินนโยบายท�าสงครามกับยาเสพติดที่ใช้ความรุนแรง
               ของรัฐบาลของนายเฟลิเป้ฯ โดยนายเอ็นริก เปน่า เนโต้ (Enrique
               Pena Nieto) ประธานาธิบดีในสมัยต่อมาของประเทศเม็กซิโก
               ได้มีมาตรการในการแก้ไขปัญหา ประกอบด้วยการจัดการในด้านต่าง ๆ
               เช่น (๑) การแก้ไขปัญหาในมิติภายในประเทศ รัฐบาลได้จัดตั้ง
               “หน่วยงานอัยการพิเศษเพื่อดูแลเหยื่ออาชญากรรม” (the Special
               Prosecutor’s Office for Attention to Victims of Crimes -
               PROVICTIMA) เพื่อท�าหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ แก่ครอบครัว
               ของผู้สูญหายเป็นการเฉพาะ และมีความพยายามของครอบครัวของผู้สูญหาย
               กลุ่มพิทักษ์สิทธิมนุษยชน และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในการด�าเนินการ
               สอบสวนข้อเท็จจริงร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ส่วนการแก้ไขปัญหาใน





                        จากผลการศึกษาวิจัยได้มีข้อเสนอแนะใน ๒ ลักษณะ ดังนี้                                          บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘


                      (๑) ข้อเสนอแนะเพื่อการคืนความเป็นธรรมให้แก่ผู้เสียหายและครอบครัวของผู้เสียหาย ประกอบด้วยข้อเสนอแนะ ๓ ประการ ได้แก่
                         (๑) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการท�าความจริงให้ปรากฏ (๒) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเยียวยาความเสียหายให้แก่ครอบครัวของ
                         ผู้เสียหาย และ (๓) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการน�าตัวผู้กระท�าความผิดมาลงโทษ
                      (๒) ข้อเสนอแนะเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และป้องกันมิให้องค์กรของรัฐก�าหนดนโยบายที่เป็นการเปิดโอกาสให้มีการกระท�า
                         อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นอีกในอนาคต ประกอบด้วยข้อเสนอแนะ ๓ ประการ ได้แก่ (๑) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไข
                         ปรับปรุงกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องของประเทศไทย (๒) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงระบบการสืบสวนสอบสวนของ
                         พนักงานสอบสวนในคดีเกี่ยวกับการกระท�าการอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ (๓) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขปรับปรุง
                         กฎหมายว่าด้วยค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา










                              รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  63  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69