Page 66 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 66

อย่างไรก็ดี ในช่วงความขัดแย้งหรือสถานการณ์   กับหลักการปารีสตามแนบแบบฟอร์มที่ก�าหนดขึ้นเป็นประจ�าสม�่าเสมอ
             ทางการเมือง สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจมีบทบาทอย่างมาก   โดยจากผลการทบทวนการด�าเนินการของส�านักงานคณะกรรมการ
             ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน และการส่งเสริมความรู้ความ   สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เปรียบเทียบกับมาตรฐานสากลในการปฏิบัติงาน
             เข้าใจในหลักสิทธิมนุษยชน นอกจากนั้น บทบาทดังกล่าวอาจหมายรวมถึง    ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาตินั้น ส่วนใหญ่จะพบว่ามีการด�าเนินการ
             ความพยายามที่จะส่งเสริมการเจรจาระหว่างกลุ่มบุคคลที่มีการโต้แย้ง  เป็นไปตามมาตรฐานที่ก�าหนดไว้แล้ว จึงควรมีการประชาสัมพันธ์
             หรือต่อสู้กัน หรือการส่งเสริมการจัดตั้งและขยายตัวของกลไก   และสร้างความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ใหม่ ๆ เพื่อให้รักษามาตรฐาน
             การสร้างสันติภาพระหว่างตัวแทนชุมชน หรือการส่งเสริมให้มีการยอมรับ    ดังกล่าวไว้  อย่างไรก็ดี ทางคณะที่ปรึกษามีข้อเสนอในการ
             และการประนีประนอมในประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนพื้นฐาน ซึ่งอาจ   ปรับปรุงบางส่วน อาทิการปรับปรุงความเป็นอิสระในการบริหาร
             เป็นต้นเหตุแห่งความขัดแย้ง เพื่อให้การด�าเนินการตามบทบาททั้ง ๕    งบประมาณ การปรับปรุงความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility)
             ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการส�านักงานควรเกิดขึ้นทันที   การก�าหนดหลักสูตรในสถาบันการศึกษา  การปรับปรุง
             หลังจากที่มีการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติขึ้นในกฎหมาย ทั้งนี้   กระบวนการในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การทบทวนหลักสูตร
             ควรมีองค์ประกอบอย่างน้อยคือโครงสร้างพื้นฐานที่ส�าคัญ การพัฒนา   การพัฒนาเจ้าหน้าที่  และการเตรียมการเพื่อรองรับกลไก
             องค์กร และทรัพยากรทางการเงิน นอกจากนี้ เพื่อให้การด�าเนินการของ   และกระบวนการประเมินขีดความสามารถขององค์กร
             สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นไปตามมาตรฐาน จึงควรมีการ   Capacity Assessment) เพื่อให้มั่นใจว่าการด�าเนินการของ
             ตรวจสอบการด�าเนินงานขององค์กตามรายการประเมินความสอดคล้อง   ส�านักงาน กสม. เป็นไปตามแนวทางมาตรฐานอย่างสมบูรณ์










                      ๓.๖.๒ การขับเคลื่อนผลงานการศึกษาวิจัยสู่สังคม

                       กสม. ได้จัดให้มีการสัมมนาเพื่อขับเคลื่อนผลงานการศึกษาวิจัยสู่สังคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลงานการศึกษาวิจัย
             สู่การใช้ประโยชน์ในสังคมวงกว้าง และเสริมสร้างความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่จะร่วมกันผลักดันให้เกิดการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
             ให้เป็นรูปธรรม ทั้งในเชิงนโยบายและในระดับพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน จ�านวน ๓ เรื่อง ได้แก่ (๑) เรื่อง “การประเมิน
             ศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามมาตรา ๒๕๗ (๑) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
             พุทธศักราช ๒๕๕๐” เมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุม ๗๐๙ ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีผู้เข้าร่วมการสัมมนา
             ทั้งสิ้น ๖๓ คน (๒) เรื่อง “ผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน” เมื่อวันที่ ๑๘ - ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘
             ณ ห้อง ๒๐๖ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ มีผู้เข้าร่วมงานทั้งหมด ๕๑ คน และ (๓) เรื่อง “การมีส่วนร่วมของ
             ประชาชนในการก�าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ” เมื่อวันที่ ๑๘ - ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้อง ๒๐๗ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและ
             คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์                                                                                     บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘





























                              รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  65  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71