Page 60 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 60
(๓) เงื่อนไขทางสังคม การเมือง ชาติพันธุ์ในการเตรียมการเพื่อส่งผู้ลี้ภัยกลับ และวิธีการปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยจากการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
คืนสู่ถิ่นฐานจะต้องเข้าใจภูมิหลังทางสังคมการเมืองและจิตวิทยา ไปสู่แนวคิดการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม นโยบายต่อผู้ลี้ภัยที่หลากหลาย
ที่มีความละเอียดอ่อนของผู้ลี้ภัยด้วย เนื่องจากผู้ลี้ภัยมีภูมิหลังที่ รัฐบาลไทยควรพิจารณาคัดเลือกและพัฒนาผู้ลี้ภัยในวัยหนุ่มสาว
หลากหลายทั้งผู้ลี้ภัยที่เป็นชนกลุ่มน้อยที่มีความขัดแย้งกับรัฐบาล ให้มีโอกาสในการท�างานการพัฒนาพื้นที่ชายแดน หรือในเขตเศรษฐกิจ
พม่า/เมียนมาร์ ผู้ลี้ภัยที่ไม่ต้องการเดินทางกลับประเทศจนกว่าจะมี พิเศษ (๒) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การส่งผู้ลี้ภัยชาวมุสลิมคืนกลับ
สันติภาพอย่างแท้จริง ผู้ลี้ภัยที่เป็นเยาวชนหรือผู้ลี้ภัยที่เกิดและเติบโต สู่ถิ่นฐาน โดยรัฐควรมีนโยบายในการเตรียมการส่งกลับเฉพาะเพื่อให้
ในค่ายผู้ลี้ภัย รวมถึงผู้ลี้ภัยที่นับถือศาสนาอิสลาม (๔) การเตรียมการ ความคุ้มครองผู้ที่มีวัฒนธรรมและการนับถือศาสนาที่แตกต่างออกไป
ส่งกลับ ทั้งเป็นการเตรียมตัวของผู้ลี้ภัยเอง และโดย UNHCR และ รวมทั้งสนับสนุนให้มีการศึกษา ท�าความเข้าใจปัญหาและความต้องการ
องค์กรภาคประชาสังคม ของผู้ลี้ภัยชาวมุสลิม รวมทั้งนโยบายการสร้าง “ชุมชนในจินตนาการ”
จากผลการศึกษาวิจัยมีข้อเสนอแนะ กล่าวคือ นโยบายการรองรับผู้ลี้ภัยที่ประสงค์จะอยู่ในประเทศไทย (Local
(๑) ข้อเสนอแนะทางเลือก ควรมีการทบทวนการนิยามผู้ลี้ภัย โดยค�านึงถึง Integration) ควรให้โอกาสแก่ผู้ลี้ภัยได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
หลักการสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานและแนวคิดการให้ความช่วยเหลือ เลือกที่จะอาศัยอยู่ในประเทศไทย และทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่
ด้านมนุษยธรรมให้เหมาะกับสถานการณ์ใหม่ เปลี่ยนมุมมองที่มีต่อ “ชายแดน” และชุมชนชายแดน
ผู้ลี้ภัยให้เป็นการมองว่าผู้ลี้ภัยเป็น “ผู้ที่มีศักยภาพ” รวมทั้งแนวคิด บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘ 59 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ