Page 62 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 62

จากผลการศึกษาวิจัยฯ มีข้อเสนอแนะในการปฏิบัติ  นอกจากนี้ รัฐควรตั้งส�านักงานการมีส่วนร่วมขึ้นโดยให้เป็นส่วนราชการ
              ซึ่งควรพิจารณาและด�าเนินการในทุกบริบทให้เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน    มีฐานะเป็นกรม เพื่อดูแลกฎหมายฉบับนี้ และเป็นการส่งเสริม ก�ากับ
              กล่าวคือ ต้องให้ประชาชนที่มีส่วนได้เสียกับการก�าหนดแนวเขตที่ดิน  และติดตาม ทั้งท�างานวิชาการและปฏิบัติงาน ควรแก้ไขกฎหมาย
              ของรัฐเข้ามามีส่วนร่วมในการก�าหนดแนวเขตในทุกขั้นตอน คือ ร่วม  ในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนประชาชนหรือชุมชนผู้ได้รับผล
              วางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล   กระทบมีอ�านาจที่จะฟ้องเรียกร้องค่าเสียหาย ค่าชดเชยจากกรณี
              ร่วมรับผลประโยชน์ พร้อมทั้งร่วมรับผิดชอบในสิ่งที่เกิดขึ้น ควรมีการ   ที่ถูกละเมิดสิทธิได้  และต้องก�าหนดแผนและเป้าหมายกับการแก้ไข
              ปรับปรุงจ�าแนกการใช้ที่ดินใหม่ตามการเพิ่มขึ้นของประชากร วิถีชีวิต    ปัญหาการบุกรุกพื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐโดยก�าหนดมาตรการ
              อาชีพ และความเป็นอยู่ของประชาชน และควรแก้ไขก�าหนดแนวเขตใหม่   งบประมาณ และผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนเพื่อก�าหนดให้เป็นมาตรฐาน
              ให้ถูกต้องตามความเป็นจริงอย่างรวดเร็วปรับปรุงกฎหมายทั้ง ๓ ด้าน    อย่างเดียวกัน เพื่อให้มีความรวดเร็วและเป็นธรรมต่อเกษตรกรผู้ยากจน
              คือ ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านการมีส่วนร่วม และด้านการกระจายอ�านาจ    ที่ได้รับผลกระทบเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินตามการประกาศพื้นที่สงวน
              ให้เป็นกฎหมายฉบับเดียวกัน เพื่อให้เห็นความสอดคล้องกันของ  หวงห้ามของรัฐ และท�าให้ประชาชนที่อยู่อาศัยท�าประโยชน์ในพื้นที่นั้น
              ขั้นตอนทั้ง ๓ ด้าน ให้มีความชัดเจนว่าการด�าเนินการของรัฐในการ   ไม่ถูกด�าเนินคดีตามกฎหมาย ควรให้มีการด�าเนินงานโดยไม่เลือก
              ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การมีส่วนร่วม และการกระจายอ�านาจ   ปฏิบัติมีความเสมอภาคโดยทั่วกัน ทั้งให้มีศาลพิจารณาพิพากษาตัดสิน
              ให้รัฐจัดตั้งส่วนราชการให้มีหน้าที่ในการจัดท�ามาตรฐานระวางแผนที่  ในประเด็นนี้เป็นการเฉพาะ และหน่วยงานที่ให้การช่วยเหลือประชาชน
              และแผนที่รูปแปลงที่ดินของรัฐ โดยเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�าแผนที่   ที่ถูกด�าเนินคดีต้องเข้าไปด�าเนินการทันทีโดยมิต้องให้ประชาชนร้องขอ
              แนบท้ายพระราชกฤษฎีกาหรือกฎกระทรวงเพื่อออกเป็นกฎหมาย

                           ๔) การศึกษาวิจัย เรื่อง “รายงานการศึกษาเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจากนโยบายของรัฐบาล
              ในการประกาศสงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖” ผู้ศึกษาวิจัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รศ.ดร.นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์)


                                                                               สาระส�าคัญ เป็นการศึกษาวิจัยทางกฎหมาย
                                                                  โดยแท้ (Juridical Research) และไม่มีความมุ่งหมายเพื่อประโยชน์
                                                                  ในทางการเมืองแต่อย่างใด การศึกษากระท�าโดยการค้นคว้าวิจัย
                                                                  เอกสาร (Documentary Research) โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูล
                                                                  ที่ได้จากรายงานของ “คณะกรรมการอิสระตรวจสอบ ศึกษา และ
                                                                  วิเคราะห์การก�าหนดนโยบายปราบปรามยาเสพติดให้โทษและ
                                                                  การน�านโยบายไปปฏิบัติจนเกิดความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย
                                                                  ชื่อเสียงและทรัพย์สินของประชาชน” (คตน.) และรายงานการศึกษา
                                                                  วิเคราะห์ของ  “คณะอนุกรรมการตรวจสอบผู้รับผิดชอบเชิงนโยบาย”
                                                                  ตลอดจนศึกษากรณีตัวอย่างจากต่างประเทศ การศึกษาเรื่อง
                                                                  ร้องเรียนของผู้ได้รับผลกระทบจากการด�าเนินนโยบายดังกล่าว
                                                                  การจัดประชุมกลุ่มย่อย (focus group) และรับฟังข้อเท็จจริง
                                                                  และรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ จากครอบครัวของผู้เสียหายและบุคคล  บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
                                                                  ฝ่ายต่าง ๆ ทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
                                                                  ภาคใต้ รวมทั้งมีการรับฟังความคิดเห็นจากนักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ
                                                                  และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                                                                               ผลจากการศึกษาวิจัย พบว่า ภายหลังจากการ
                                                                  ด�าเนินนโยบายปราบปรามยาเสพติดของรัฐบาล มีคดีฆาตกรรมเกิดขึ้น
                                                                  เป็นจ�านวน ๒,๖๐๔ คดี และมีผู้เสียชีวิตจ�านวนทั้งสิ้น ๒,๘๗๓ คน
                                                                  ซึ่งเป็นจ�านวนสูงผิดปกติเมื่อเปรียบเทียบกับคดีฆาตกรรมในช่วงระยะเวลา
                                                                  เดียวกันก่อน (พ.ศ. ๒๕๔๔ – พ.ศ. ๒๕๔๕) และหลังการด�าเนินนโยบาย
                                                                  ดังกล่าว (พ.ศ. ๒๕๔๗ – พ.ศ. ๒๕๔๘) กอปรกับมีเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับ
                                                                  การกระท�าความผิดอาญาซึ่งเป็นการกระท�าอันเป็นการละเมิด
                                                                  สิทธิมนุษยชนต่อ กสม. เป็นจ�านวนมากซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบและ
                                                                  ความเสียหายต่อประชากรพลเรือนอย่างกว้างขวาง รายงานการศึกษา
                                                                  วิจัยได้ท�าการศึกษาสภาพการณ์และสภาพปัญหานโยบายปราบปราม
                                                                  ยาเสพติดของไทยและเม็กซิโก มีผลการศึกษาโดยสรุป ดังนี้


                              รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  61  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67