Page 68 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 68
๒) การประชุม Special Event with National Human Rights Institutions
เป็นการประชุมซึ่งจัดขึ้นเป็นกรณีพิเศษในโอกาสครบรอบ European Development Day ระหว่างวันที่ ๓ - ๔ มิถุนายน ๒๕๕๘
ณ กรุงบรัสเซลส์ ตามค�าเชิญของคณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเน้นบทบาทการด�าเนินงานที่ส�าคัญ
ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในประเด็นสิทธิมนุษยชนกับการพัฒนา รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนระหว่างสหภาพยุโรป (EU)
กับ ICC การประชุมดังกล่าวได้มีการอภิปราย พร้อมกับสรุปบทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการอนุวัติการตามเป้าหมายว่าด้วย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals - SDGs)
๓) การลดสถานะของ กสม. ใน ICC จากสถานะ “A” เป็น “B”
กสม. ได้รับแจ้งจากหน่วยงาน National Institutions ในการนี้ ประธาน กสม. ได้มีหนังสือคัดค้าน (challenge)
and Regional Mechanisms Section (NIRMS) ของส�านักงาน มติของ SCA โดยให้เหตุผลว่า ที่ผ่านมา กสม. ได้พยายามด�าเนินการ
ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR) เกี่ยวกับ อย่างเต็มที่และต่อเนื่องในการรณรงค์ให้มีการปรับปรุงบทบัญญัติใน
ผลการทบทวนสถานะ (re-accreditation) ของ กสม. โดยคณะ รัฐธรรมนูญและกฎหมายจัดตั้ง กสม. ให้สอดคล้องกับหลักการปารีส
อนุกรรมการประเมินสถานะ (Sub-Committee on Accreditation - อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดท�ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ยังไม่เสร็จสิ้น กอปร
SCA) ภายใต้คณะกรรมการประสานงานระหว่างประเทศว่าด้วยสถาบัน กับขณะนี้ได้มีการสรรหา กสม. ชุดใหม่ ซึ่งเพิ่งเข้ารับหน้าที่เมื่อวันที่
แห่งชาติในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (International ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ และได้เตรียมที่จะจัดท�าข้อเสนอต่อทั้งคณะ
Coordinating Committee of National Institutions for the รักษาความสงบแห่งชาติและคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเพื่อให้มี
Promotion and Protection of Human Rights - ICC) โดย SCA การปรับปรุงกฎหมายในประเด็นที่เป็นข้อห่วงกังวลของ SCA เกี่ยวกับ
ได้ยืนยันมติให้ลดระดับ กสม. ของไทยให้อยู่ในสถานะ “B” พร้อมกับ กระบวนการสรรหา กสม. และการคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของ
มีข้อห่วงกังวล (concern) ในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ กระบวนการสรรหา กสม. ที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ส่วนในประเด็นเรื่องความล่าช้า
และแต่งตั้ง กสม. (Selection and appointment) ความคุ้มกัน ในการจัดท�ารายงานที่เกี่ยวกับสถานการณ์ที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
และความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ (Functional immunity ในประเทศนั้น กสม. ชุดใหม่จะน�าข้อคิดเห็นของ SCA มาพิจารณา
and independence) และการรายงานสถานการณ์การละเมิด ปรับปรุงกระบวนการท�างานของ กสม. เพื่อให้สามารถสนองตอบต่อ
สิทธิมนุษยชนที่ทันต่อเหตุการณ์ โดยส�านักงาน OHCHR แจ้งว่า สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศได้อย่างรวดเร็วและ
กสม. มีเวลา ๒๘ วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับทราบข้อมติของ SCA ในการ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป อย่างไรก็ตาม การคัดค้าน (challenge)
คัดค้าน (challenge) มติดังกล่าวพร้อมกับให้ข้อมูลเพิ่มเติม มติของ SCA ไม่เป็นผล เนื่องจากไม่มีสมาชิก ICC Bureau ประเทศใด
คัดค้าน จึงส่งผลให้ กสม. ถูกลดสถานะใน ICC จาก “A” เป็น “B”
ตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม ๒๕๕๙ เป็นต้นมา บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘ 67 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ