Page 61 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 61

๓) การศึกษาวิจัย เรื่อง “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการก�าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ” (ผู้ศึกษาวิจัย :
          นายสถิตย์พงษ์ สุดชูเกียรติ)


                       สาระส�าคัญ เป็นการศึกษาจากกฎหมายที่  ไปกระทบสิทธิของประชาชน ละเมิดสิทธิมนุษยชน และไม่มี
          เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดินที่ใช้อยู่ในปัจจุบันของหน่วยงาน  หน่วยงานใดเข้ามารับผิดชอบต่อสิ่งที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ กระบวนการยุติธรรม
          หลักในการบริหารจัดการที่ดินโดยตรง และขอบเขตก�าหนดโดยแผนที่   ที่ใช้กับผู้ที่ถูกระบุว่ากระท�าผิดกฎหมายจากผลของการก�าหนด
          แนบท้ายหรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข   แนวเขตที่ดินของรัฐยังขาดความเป็นธรรม มีการเลือกปฏิบัติ และใช้
          ของหน่วยงานเหล่านั้น และศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการทับซ้อน   ระยะเวลานาน กระทบต่อผู้ยากจนที่ถูกด�าเนินคดี ดังนั้น จะเห็นได้ว่า
          แนวเขตที่ดินของเขตอนุรักษ์กับที่ดินของรัฐประเภทอื่น ๆ ที่รัฐจัดสรร   หากได้ด�าเนินการก�าหนดแนวเขตพื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐ หรือกรณี
          ให้กับประชาชน รวมทั้งศึกษาปัญหาข้อขัดแย้งในสิทธิการถือ  แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการก�าหนดแนวเขตไว้แล้ว ให้ประชาชน
          ครองท�าประโยชน์ในพื้นที่กรณีศึกษา สาเหตุของปัญหาและการ  เข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนในการก�าหนดแนวเขตหรือในการแก้ไข
          แก้ไขปัญหา รวมไปถึงกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน   ปัญหาที่เกิดขึ้น จะท�าให้รัฐและประชาชนได้ทราบข้อมูลข้อเท็จจริง
          โดยก�าหนดพื้นที่กรณีศึกษาตามการร้องเรียนของประชาชนต่อ   น�ามาประกอบการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
          กสม. โดยให้ครอบคลุมลักษณะที่ส�าคัญ คือ การก�าหนดแนวเขตที่ดิน  ท�าให้มีการยอมรับไม่มีข้อโต้แย้งส่งผลให้ไม่ต้องมีการให้แก้ไข
          ของรัฐทับซ้อนกับพื้นที่ที่อยู่อาศัยและพื้นที่ของชุมชนจ�านวนมาก    ปัญหากันอีกในอนาคต
          การก�าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐทับซ้อนในพื้นที่เดียวกันหลาย
          หน่วยงาน และพื้นที่ระบบนิเวศและวิถีชีวิตของชุมชนที่หลาก
          หลายแตกต่างกัน โดยได้คัดเลือกพื้นที่ใน ๗ จังหวัด ได้แก่
          กาญจนบุรี ราชบุรี นครราชสีมา สกลนคร ล�าปาง สุราษฎร์ธานี และ
          พัทลุง


                       ผลจากการศึกษาวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วม
          ของประชาชนไม่มีความก้าวหน้าเท่าที่ควร และไม่มีความสัมพันธ์กัน
          ระหว่างการมีส่วนร่วม ข้อมูลข่าวสาร และการกระจายอ�านาจ ในการ
          พิจารณาออกกฎกระทรวงหรือพระราชกฤษฎีกา ก�าหนดให้มีแผนที่
          แนบท้ายอันถือเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายมีความล่าช้า เกิดความ
          ผิดพลาด และไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริงในพื้นที่ที่ก�าหนดในรูปแผนที่
          ในการจ�าแนกที่ดิน และการก�าหนดแนวเขตที่ดินเพื่อการพัฒนา
          ประเทศและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติล้าสมัย และไม่เป็นไปตาม
          ข้อเท็จจริงตามความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ตามศักยภาพ
          ของพื้นที่ การก�าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐมีการทับซ้อนกันและไม่
          สามารถตกลงกันได้ในปัญหาการทับซ้อนแนวเขตระหว่างหน่วยงาน และ
          หน่วยงานของรัฐก�าหนดแนวเขตโดยประชาชนไม่ทราบข้อมูลในพื้นที่จริง
          แม้พบข้อผิดพลาดก็ยังไม่ได้มีการแก้ไขหรือแก้ไขล่าช้า ประชาชน
          หรือผู้มีส่วนได้เสียไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการด�าเนินงาน ท�าให้เกิดการ
          โต้แย้งและไม่ยอมรับ ทั้งยังขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
          อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ที่มีผลกระทบกับระบบนิเวศ
          ส่งผลถึงประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ที่ถูกก�าหนดขอบเขตให้เป็นเขต
          พื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐเป็นผู้กระท�าผิดตามกฎหมาย วิถีชีวิตที่เปลี่ยน
















                                    รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  60  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66