Page 63 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 63
(๑) สภาพการณ์และสภาพปัญหาโดยรวมจากนโยบาย นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานต่าง ๆ ของ
ของรัฐบาลในการประกาศสงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดของ รัฐที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินนโยบาย ตลอดจนผู้รับผิดชอบในการ
รัฐบาล เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖ พบว่า (๑) ปัญหาของการก�าหนดและ ก�ากับดูแลศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดในระดับต่าง ๆ
การด�าเนินนโยบายในการท�าสงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดของรัฐบาล ซึ่งล้วนแต่เป็นผู้ก�าหนดกฎเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ
สะท้อนให้เห็นปัญหาในทุกชั้นของการด�าเนินการ โดยแบ่งออกได้เป็น ที่เกี่ยวข้องเพื่อด�าเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายที่นายกรัฐมนตรี
๔ ชั้น ได้แก่ ชั้นที่หนึ่ง: ชั้นการก�าหนดนโยบายของรัฐบาลในการท�า ก�าหนด เมื่อผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐเหล่านี้ได้รับ
สงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพ ชั้นที่สอง: ชั้นการน�านโยบายของ รายงานการด�าเนินนโยบายดังกล่าวจากเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการหรือ
รัฐบาลในการท�าสงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดไปสู่การปฏิบัติ หน่วยงานปฏิบัติต่าง ๆ กลับมิได้เสนอให้ยับยั้งการด�าเนินการของ
ชั้นที่สาม: ชั้นผลการปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลในการท�าสงคราม เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ผิดพลาดแต่อย่างใด อีกทั้งเมื่อมีการรายงาน
ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด และ ชั้นที่สี่: ชั้นการช่วยเหลือเยียวยา การเสียชีวิตของประชากรพลเรือนจ�านวนมากทั่วภูมิภาคของ
ผู้ได้รับผลกระทบจากการด�าเนินนโยบายดังกล่าว (๒) สถานะทาง ประเทศไทย และรายงานข้อมูลคดีที่ครอบครัวของผู้เสียหาย
กฎหมายของการก�าหนดและการด�าเนินนโยบายในการท�าสงคราม ร้องเรียนต่อพนักงานสอบสวน ซึ่งพนักงานสอบสวนเสนอให้
ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดของรัฐบาลฯ มีองค์ประกอบความผิด งดการสอบสวนโดยมิชอบ ผู้บริหารระดับสูงเหล่านี้ก็มิได้สั่ง
เข้าลักษณะของการก่อ “อาชญากรรมร้ายแรงระหว่างประเทศ” การให้มีการตรวจสอบหรือสอบสวนการเสียชีวิตของประชากร
ในลักษณะของการก่อ “อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ” (“Crime against พลเรือนในช่วงเวลาดังกล่าว และมิได้สั่งการให้พนักงานสอบสวน
humanity”) ตามนัยแห่งข้อ ๗ ของธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาล ปฏิบัติการสืบสวนสอบสวนคดีอาญาให้ถูกต้องชอบธรรม
อาญาระหว่างประเทศ (The Rome Statute of the International ตามหลักนิติธรรม (Rule of Law) และนิติรัฐ (Legal State)
Criminal Court) ซึ่งธรรมนูญกรุงโรมฯ มีสถานะเป็น “กฎหมาย แต่ประการใด หากแต่ปล่อยให้พนักงานสอบสวนด�าเนินการเช่นนั้น
บังคับเด็ดขาด” (“jus cogens”) เหนือกฎเกณฑ์หรือบทบัญญัติแห่ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชากรพลเรือน
กฎหมายใด ๆ ภายในของประเทศต่าง ๆ นโยบายดังกล่าวเป็นการ อย่างกว้างขวางและเป็นจ�านวนมาก เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองระดับสูง
ก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ เนื่องจากเป็นการกระท�าที่ก่อให้เกิด เหล่านี้จึงมีความผิดฐานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๕๗
การกระท�าความผิดอาญาในลักษณะต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ แห่งประมวลกฎหมายอาญาด้วย
บังคับบุคคลให้สูญหาย การฆ่าคนตาย การยึดทรัพย์สินโดยมิชอบ
ซึ่งการกระท�าความผิดอาญาต่าง ๆ เหล่านี้ล้วน “เป็นส่วนหนึ่ง”
ของ “การโจมตี” หรือ “การประทุษร้าย” ต่อ “ประชากรพลเรือน”
(“attack directed against any civilian population”) “ในวงกว้าง”
(“widespread”) หรือ “อย่างเป็นระบบ” (“systematic”)
รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘ 62 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ