Page 58 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 58
๓.๖ การศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน
การส่งเสริมการศึกษาวิจัยและการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนเป็นภารกิจหลักส�าคัญประการหนึ่งของ กสม. ในระยะเวลาที่ผ่านมา
กสม. ได้สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยในประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนางาน รวมทั้ง
การจัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและกฎหมาย เพื่อเสนอต่อรัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง และเผยแพร่ต่อสถาบันการศึกษา ผู้สนใจ
และประชาชนทั่วไป
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ กสม. ได้ด�าเนินการศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนและการขับเคลื่อนผลการศึกษาวิจัยเผยแพร่สู่สังคม ทั้งต่อหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนโดยใช้เป็นข้อมูล
ในการจัดท�าข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการจัดพิมพ์รายงานการศึกษา
วิจัยเป็นหนังสือเผยแพร่โดยจัดส่งให้ห้องสมุดของสถาบันการศึกษา และหน่วยงานราชการ และเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ซึ่งมีผลการด�าเนินงาน ดังนี้
๓.๖.๑ การศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน จ�านวน ๕ เรื่อง มีรายละเอียดดังนี้
๑) การศึกษาวิจัย เรื่อง “ผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน” ผู้ศึกษาวิจัย :
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (อาจารย์ภารนี สวัสดิรักษ์)
สาระส�าคัญ เป็นการศึกษากรณีร้องเรียนของประชาชนและชุมชนในประเด็นผลกระทบจากการจัดการด้านผังเมืองที่ส่งผลกระทบต่อ
สิทธิชุมชน เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ทางวิชาการด้านผังเมืองและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเสนอแนวทางแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ
ชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะด้านผังเมือง ทั้งในช่วงก่อนการวางผัง ในระหว่างการวางผัง หลังการประกาศ
บังคับใช้ผังเมือง และการน�าผังเมืองไปใช้ประโยชน์เพื่อจัดท�าความเห็นและข้อเสนอแนะกระบวนการผังเมืองให้เป็นไปเพื่อการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิชุมชน
ผลจากการศึกษาวิจัย พบว่า มีข้อสรุปประเด็นปัญหา (๑) คณะกรรมการกฤษฎีกา และหน่วยงานที่ก�าหนดนโยบายเชิงพื้นที่
ด้านโครงสร้าง การด�าเนินการ และการปฏิบัติตามผังเมือง ยังมีปัญหา เช่น ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และข้อจ�ากัดเนื่องด้วยคณะกรรมการผังเมืองเป็นเพียงองค์กรบริหารการ ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ก�ากับ ดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย และให้ความเห็นชอบ
ในการจัดท�าผังเมืองรวมก่อนน�าเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
มหาดไทย ส่วนกรมโยธาธิการและผังเมืองไม่มีอ�านาจสั่งการประสานให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน�าแนวทางของผัง/แผนพัฒนาท้ายกฎกระทรวง
ผังเมืองรวมไปก�าหนดในแผนงานโครงการพัฒนาในพื้นที่ได้ มีผล
ท�าให้ไม่มีการด�าเนินการให้เป็นไปตามผัง/แผนโครงการพัฒนาแนบ
ท้ายกฎกระทรวงผังเมืองรวมในหลายกรณี (๒) ด้านสิทธิชุมชนและ บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
สิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการผังเมือง มีประเด็น
ปัญหาส�าคัญ ได้แก่ สิทธิในข้อมูลข่าวสาร และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในกระบวนการผังเมือง ทั้งในช่วงระหว่างผังรอประกาศ
ความล่าช้าในการประกาศและกรณีผังเมืองหมดอายุการบังคับใช้
ช่วงระหว่างการด�าเนินการวางผัง และช่วงหลังประกาศใช้บังคับ (๓)
ด้านกฎหมายมีประเด็นปัญหาด้านกฎหมายผังเมืองที่เกี่ยวข้องกับการ
คุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งในช่วง
ระหว่างการจัดท�าผังเมือง ช่วงระหว่างรอประกาศบังคับใช้ผังเมือง
และช่วงหลังประกาศบังคับใช้ผังเมือง และ (๔) กรณีกฎกระทรวง
เกี่ยวกับผังเมืองรวมหมดอายุบังคับใช้
จากผลการศึกษาวิจัยดังกล่าว ได้มีข้อเสนอแนะต่อ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมโยธาธิการและผังเมือง รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทย และคณะกรรมการผังเมือง ส�านักงาน
รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘ 57 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ