Page 91 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 91
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๓ สถานการณ์ปี ๒๕๕๘
๘๔
ในปี ๒๕๕๘ เกิดเหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ�านวน ๖๗๔ ครั้ง โดยลดลงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๗ และเป็นปีที่มี
จ�านวนเหตุการณ์ความรุนแรง จ�านวนผู้เสียชีวิต ผู้ได้รับบาดเจ็บน้อยที่สุดในรอบ ๑๒ ปี นับตั้งแต่เริ่มเกิดเหตุความรุนแรงใน
พื้นที่ โดยในมิติด้านพื้นที่ของการเกิดสถานการณ์ความไม่สงบพบว่า พื้นที่จังหวัดนราธิวาสเป็นพื้นที่ที่มีเหตุการณ์ความไม่สงบเกิดขึ้น
มากที่สุด จ�านวน ๒๔๓ เหตุการณ์ รองลงมา คือ จังหวัดยะลา ๒๐๗ เหตุการณ์ จังหวัดปัตตานี ๑๙๘ เหตุการณ์ และจังหวัดสงขลา ๒๖ เหตุการณ์
โดยน�าเสนอในตารางเรียงล�าดับตามพื้นที่ซึ่งเกิดเหตุการณ์จากมากไปถึงน้อยที่สุดได้ ดังนี้
ตารางแสดงจ�านวนเหตุการณ์ความรุนแรง จ�านวนผู้เสียชีวิตและผู้ได้รับบาดเจ็บในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี ๒๕๕๘
จ�านวน
ล�าดับ อ�าเภอ
เหตุการณ์ (ครั้ง) ผู้เสียชีวิต (คน) ผู้ได้รับบาดเจ็บ (คน)
๑ เมืองยะลา ๗๗ ๑๐ ๕๓
๒ บันนังสตา ๔๕ ๑๓ ๙
๓ รามัน ๓๗ ๑๗ ๘
๔ ระแงะ ๓๔ ๑๖ ๓๙
๕ โคกโพธิ์ ๓๓ ๑๒ ๔๗
๖ รือเสาะ ๓๒ ๑๓ ๔๐
๗ เมืองนราธิวาส ๓๐ ๑๓ ๒๗
๘ สายบุรี ๒๗ ๑๔ ๒๘
๙ ยะรัง ๒๔ ๘ ๒๐
๑๐ บาเจาะ ๒๔ ๗ ๒๐
ภาพรวมสถานะของผู้เสียชีวิตและผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ในปี ๒๕๕๘
สถานะของผู้เสียชีวิตและผู้ได้รับบาดเจ็บ ผู้เสียชีวิต ผู้ได้รับบาดเจ็บ
ราษฎร ๑๒๐ ๑๘๖
ทหาร ๓๑ ๑๖๖
ผู้ก่อเหตุ ๑๙ ๑
ก�านัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ๑๔ ๑๕
ชรบ./อส./อพปร. ๑๒ ๕๖
ต�ารวจ/ตชด./นปพ. ๘ ๘๑
ลูกจ้างของรัฐ ๖ ๒
ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ๔ ๔
๘๔ โรงเรียนนักข่าวชายแดนภาคใต้, “การวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในรอบปี ๒๕๕๘”, www. deepsouthwatch.org/node/7942 (สืบค้น
เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๙)
61