Page 68 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 68
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
นอกจากนี้ สถิติของผู้ต้องขังในสถานคุมขังของกรมราชทัณฑ์ยังแสดงให้เห็นถึงจ�านวนผู้ต้องขังราชทัณฑ์ทั่วประเทศ และคดียาเสพติด
ปรากฎดังนี้
๒๔
๒๕
ตารางสถิติของผู้ต้องขังในสถานคุมขังของกรมราชทัณฑ์ จ�าแนกเป็นผู้ต้องราชทัณฑ์ทั่วประเทศ
และคดียาเสพติด
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ผู้ต้องขังทั่วประเทศ ผู้ต้องขังยาเสพติด ผู้ต้องขังทั่วประเทศ ผู้ต้องขังยาเสพติด
ประเภท
ร้อยละเทียบ ร้อยละเทียบ
จ�านวนคน ร้อยละ จ�านวนคน ร้อยละ ผู้ต้องขัง จ�านวนคน ร้อยละ จ�านวนคน ร้อยละ ผู้ต้องขัง
ทั่วประเทศ ทั่วประเทศ
๑. นักโทษเด็ดขาด ๒๒๓,๗๑๔ ๗๖.๕๕๕ ๑๕๖,๓๖๑ ๗๖.๘๕๕ ๕๓.๕๑๕ ๒๕๖,๘๖๕ ๗๗.๙๐๕ ๑๘๔,๔๐๘ ๗๘.๕๖๕ ๕๕.๙๓๕
๒. ผู้ต้องขังระหว่าง ๖๖,๔๑๗ ๒๒.๗๒๘ ๔๖,๐๗๑ ๒๒.๖๔ ๑๕.๗๗ ๖๖,๔๒๔ ๒๐.๑๔๕ ๔๕,๗๔๙ ๑๙.๔๙ ๑๓.๘๗
๒.๑ อุทธรณ์ – ฎีกา ๓๒,๖๕๔ ๑๑.๑๗๔ ๒๒,๑๗๗ ๑๐.๙๐ ๗.๕๙ ๓๓,๓๙๑ ๑๐.๑๒๗ ๒๒,๔๕๖ ๙.๕๗ ๖.๘๑
๒.๒ ไต่สวน – ๑๒,๑๑๕ ๔.๑๔๖ ๘,๓๑๒ ๔.๐๙ ๒.๘๔ ๑๒,๕๔๔ ๓.๘๐๔ ๘,๕๗๘ ๓.๖๕ ๒.๖๐
พิจารณา
๒.๓ สอบสวน ๒๑,๖๔๘ ๗.๔๐๘ ๑๕,๕๘๒ ๗.๖๖ ๕.๓๓ ๒๐,๔๘๙ ๖.๒๑๔ ๑๔,๗๑๕ ๖.๒๗ ๔.๔๖
๓. เยาวชนที่ฝากขัง ๑๘๒ ๐.๐๖๒ ๔๑ ๐.๐๒ ๐.๐๑ ๑๖๕ ๐.๐๕๐ ๔๙ ๐.๐๒ ๐.๐๑
๔. ผู้ถูกกักกัน ๗ ๐.๐๐๒ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๙ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
๕. ผู้ต้องกักขัง ๑,๙๐๗ ๐.๖๕๓ ๙๙๐ ๐.๔๙ ๐.๓๔ ๖,๒๖๔ ๑.๙๐๐ ๔,๕๑๘ ๑.๙๒ ๑.๓๗
รวมผู้ต้องราชทัณฑ์ ๒๙๒,๒๒๗ ๑๐๐ ๒๐๓,๔๖๓ ๑๐๐.๐๐ ๖๙.๖๒ ๓๒๙,๗๒๗ ๑๐๐ ๒๓๔,๗๒๔ ๑๐๐.๐๐ ๗๑.๑๙
ทั้งสิ้น
จากตารางข้างต้นพบว่า ในปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๘ มีผู้ต้อง มีอ�านาจหลายประการด้วยกัน เช่น ออกค�าสั่งให้บุคคลใด บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
๒๖
ขังระหว่างพิจารณา ร้อยละ ๒๒.๗๒๘ และร้อยละ ๒๐.๑๔๕ มารายงานตัวต่อเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย จับกุมตัว
ของผู้ต้องขังทั่วประเทศ ตามล�าดับ ซึ่งจ�านวนผู้ต้องขังระหว่าง ผู้กระท�าความผิดซึ่งหน้า และในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยโดย
พิจารณาดังกล่าว เป็นผู้ต้องขังยาเสพติด ร้อยละ ๕๓.๕๑๕ และ มีหลักฐานตามสมควรว่าบุคคลใดกระท�าความผิดตามข้อ ๓
๕๕.๙๓๕ ของผู้ต้องขังทั่วประเทศ ตามล�าดับ จากสถิติดังกล่าว มีอ�านาจเรียกตัวบุคคลนั้นมาสอบถามข้อมูลหรือให้ถ้อยค�า
๒๗
จะเห็นได้ว่า ในปี ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๘ มีสัดส่วนจ�านวนผู้ต้อง อันจะเป็นประโยชน์ต่อการด�าเนินการตามข้อ ๓ และในกรณี
ขังระหว่างพิจารณาที่เป็นผู้ต้องขังยาเสพติดมากกว่าร้อยละ ๕๐ ที่ยังสอบถามไม่แล้วเสร็จ จะควบคุมตัวบุคคลนั้นไว้ก็ได้แต่ไม่เกิน
เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ต้องขังทั่วประเทศ เจ็ดวัน เป็นต้น และต่อมาได้มีประกาศ คสช. ฉบับที่ ๓๗/๒๕๕๗
อนึ่ง ตั้งแต่การเข้าควบคุมอ�านาจในการบริหารประเทศของ เรื่อง ความผิดที่อยู่ในอ�านาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาลทหาร
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ประกาศ คสช. ฉบับที่ ๓๘/๒๕๕๗ เรื่อง คดีที่ประกอบด้วย
๒๕๕๗ ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก การกระท�าหลายอย่างเกี่ยวโยงกันให้อยู่ในอ�านาจศาลทหาร
ทั่วราชอาณาจักร และเมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๘ ได้ยกเลิกการใช้ และประกาศ คสช. ฉบับที่ ๕๐/๒๕๕๗ เรื่อง ให้ศาลทหารมีอ�านาจ
กฎอัยการศึก และมีค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘ เรื่อง การรักษา พิจารณาพิพากษาคดีอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิด
ความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ โดยอาศัยอ�านาจ ที่ใช้เฉพาะแต่การสงคราม ซึ่งส่งผลให้พลเรือนต้องอยู่ในอ�านาจ
ตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การพิจารณาของศาลทหาร ในคดีอื่น ๆ นอกเหนือจากประกาศ
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๐ เพื่อป้องกันและปราบปราม คณะรักษาความสงบแห่งชาติทั้งสามฉบับ ยังคงอยู่ในอ�านาจ
การกระท�าอันเป็นการบ่อนท�าลายความสงบ และความมั่นคง การสืบสวนสอบสวนโดยเจ้าพนักงานต�ารวจ สั่งฟ้องโดยพนักงาน
ของชาติ โดยก�าหนดให้เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย อัยการ และพิจารณาคดีโดยศาลยุติธรรมเช่นเดิม
๒๔ ดูรายละเอียดได้ที่ <www.correct.go.th/stat102/display/result.php?date=2014-03-01&Submit=%B5%A1%C5%A7>(เข้าดู ณ วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๙)
๒๕ ดูรายละเอียดได้ที่ <www.correct.go.th/stat102/display/drug_result.php?date=2014-03-01&Submit=%B5%A1%C5%A7>(เข้าดู ณ วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๙)
๒๖ เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย หมายความว่า ข้าราชการทหารซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นร้อยตรี เรือตรี หรืออากาศตรี ขึ้นไป ซึ่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งให้ปฏิบัติการ
ตามค�าสั่งนี้
๒๗ ข้อ ๓ ให้เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยด�าเนินการป้องกันและปราบปรามการกระท�าอันเป็นความผิด ดังต่อไปนี้ ให้เกิดผลโดยเร็ว
(๑) ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้ส�าเร็จราชการแทนพระองค์ ตามมาตรา ๑๐๗ ถึงมาตรา ๑๑๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญา
(๒) ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา ๑๑๓ ถึงมาตรา ๑๑๘ แห่งประมวลกฎหมายอาญา
(๓) ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน และวัตถุระเบิด
ส�าหรับใช้เฉพาะแต่ในการสงคราม
(๔) ความผิดอันเป็นการฝ่าฝืนประกาศหรือค�าสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือค�าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
38