Page 66 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 66

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘






                ๓.๒      สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง รายประเด็น



                         สถานการณ์สิทธิมนุษยชนด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และการต่อต้านทรมาน การประติบัติหรือการลงโทษ
                         อื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรีที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๘ กสม. แบ่งสถานการณ์ออกเป็น ๕ เรื่องหลัก ดังนี้




              ๓.๒.๑  สิทธิในกระบวนการยุติธรรม



                ๑    หลักการด้านสิทธิมนุษยชน
              กติกา ICCPR ข้อ ๑๔ ได้รับรองว่าบุคคลทั้งปวงย่อมเสมอกัน   เป็นผลจากบุคคลนั้นทั้งหมด หรือบางส่วน  ทั้งนี้ ข้อ ๙ ก�าหนด
              ในการพิจารณาของศาลและคณะตุลาการ ในการพิจารณาคดี     ให้บุคคลที่ถูกจับกุมหรือควบคุมตัวในข้อหาทางอาญา จะต้อง
              อาญาซึ่งตนต้องหาว่ากระท�าผิด หรือการพิจารณาคดีเกี่ยวกับสิทธิ   ถูกน�าตัวโดยพลันไปยังศาลหรือเจ้าหน้าที่อื่นที่มีอ�านาจ
              และหน้าที่ของตน บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการพิจารณาอย่างเปิด  ตามกฎหมายที่จะใช้อ�านาจทางตุลาการ มีสิทธิได้รับการ
              เผยและเป็นธรรม โดยคณะตุลาการซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย    พิจารณาคดีภายในเวลาอันสมควร หรือได้รับการปล่อยตัว
              มีอ�านาจ มีความอิสระ และเป็นกลาง บุคคลซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระท�า  ไป มิให้ถือเป็นหลักทั่วไปว่าจะต้องควบคุมบุคคลที่รอการ
              ความผิดอาญาต้องได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะ  พิจารณาคดี ในการปล่อยตัวอาจก�าหนดให้ประกันว่าจะมา
              พิสูจน์ตามกฎหมายได้ว่ามีความผิด บุคคลที่ต้องค�าพิพากษาลงโทษ   ปรากฏตัวในการพิจารณาคดี ข้อ ๑๐ ได้รับรองและคุ้มครอง
              ในความผิดอาญาย่อมมีสิทธิที่จะให้คณะตุลาการระดับเหนือขึ้นไป   บุคคลที่ถูกลิดรอนสิทธิเสรีภาพต้องได้รับการปฏิบัติด้วยความ
              พิจารณาทบทวนการลงโทษและค�าพิพากษาโดยเป็นไปตามกฎหมาย   มีมนุษยธรรมและความเคารพในศักดิ์ศรีแต่ก�าเนิดแห่งความ  บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
              บุคคลที่ต้องค�าพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดอาญา    เป็นมนุษย์ ในกรณีที่บุคคลถูกละเมิด ข้อ ๒ ของกติกา ICCPR
              และภายหลังจากนั้นมีการกลับค�าพิพากษาที่ให้ลงโทษบุคคลนั้น   ได้ก�าหนดให้บุคคลที่สิทธิหรือเสรีภาพของตนซึ่งรับรองไว้
              หรือบุคคลนั้นได้รับอภัยโทษ ต้องได้รับการชดเชยตามกฎหมาย   ในกติกานี้ถูกละเมิดต้องได้รับการเยียวยาอย่างเป็นผลจริงจัง
              เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าการไม่เปิดเผยข้อเท็จจริงที่ยังไม่รู้ให้ทันเวลา  โดยไม่ต้องค�านึงว่าการละเมิดนั้นกระท�าโดยผู้ปฏิบัติตามหน้าที่






































                                                                                                           36
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71