Page 65 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 65
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยได้รับมาปฏิบัติภายใต้กลไก UPR ที่เกี่ยวกับสิทธิที่ได้รับรองไว้ในกติกา ICCPR อนุสัญญา
CAT และอนุสัญญา CED ได้แก่ ศึกษาความเป็นไปได้ในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญ
โดยถูกบังคับ ออกหรือแก้ไขกฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญา CAT ทบทวนกฎหมายภายในให้สอดคล้องกับบทบัญญัติกฎหมาย
ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับเสรีภาพในการแสดงออก ด�าเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยเปิดเผย โปร่งใส ประกันว่าผู้ถูกกล่าวหาจะได้รับ
ค�าปรึกษาทางกฎหมาย ด�าเนินมาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการจับกุมคุมขังผู้โยกย้ายถิ่นฐานตามอ�าเภอใจ รวมถึงการใช้ความรุนแรง
การละเมิดและแสวงประโยชน์แก่บุคคลดังกล่าว เคารพหลักการไม่ผลักดันกลับกรณีผู้แสวงหาที่พักพิง ผู้ลี้ภัย คุ้มครองกลุ่มเปราะบาง
เช่น โรฮินจา โดยให้สอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ ด�าเนินความพยายามอย่างต่อเนื่องเพื่อแก้ไขสถานการณ์ค้ามนุษย์ มีการฟื้นฟูเยียวยา
ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ เพิ่มความพยายามในการแก้ไขสถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีการด�าเนินการเพื่อประกันว่าข้อกล่าวหา
ว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ต�ารวจ เจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง) จะได้รับการสอบสวนและด�าเนินคดี ชดเชยแก่ผู้เสียหาย
แก้ไขปัญหาการทุจริตและมีการลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐที่กระท�าผิด ปฎิรูประบบยุติธรรม ระบบตุลาการ แก้ปัญหาสภาพเรือนจ�า
ประเด็นที่ข้อสังเกตเชิงสรุปของคณะกรรมการ กฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญา CAT ปฎิรูประบบยุติธรรม
ICCPR ข้อสังเกตเชิงสรุปของคณะกรรมการ CAT การสอบสวนและลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐเมื่อมีข้อกล่าวหาว่ากระท�า
และข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย โดยมิชอบ แผนของกลุ่มผู้ต้องหา/ผู้ต้องขังเน้นการปรับปรุง
สภาพเรือนจ�า การปฏิบัติต่อผู้ต้องหาหรือจ�าเลย รวมถึงการ
ได้รับมาปฏิบัติภายใต้กลไก UPR มีร่วมกัน
ได้แก่ การประกาศใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงและการ ให้ความช่วยเหลือด้านทนาย การบ�าบัดฟื้นฟูผู้ต้องหาที่เป็นเด็ก/
แก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ การสอบสวน เยาวชน การแถลงข่าวหรือท�าแผนประทุษกรรมโดยค�านึงถึงศักดิ์ศรี
และด�าเนินคดีแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐกรณีมีข้อกล่าวหา ความเป็นคน แผนของกลุ่มผู้พ้นโทษเน้นการช่วยเหลือผู้พ้นโทษเพื่อ
ไม่ให้กระท�าผิดซ�้า แผนของกลุ่มผู้ต้องหาคดียาเสพติดเน้นการฝึก
เกี่ยวกับการกระท�าละเมิดสิทธิมนุษยชน กระท�าทรมาน การท�าให้ อาชีพ การบ�าบัด แผนของกลุ่มเหยื่อ/ผู้เสียหายเน้นการพัฒนา
บุคคลสูญหายโดยถูกบังคับ การปรับปรุงสภาพเรือนจ�า การปฏิบัติ กลไกช่วยเหลือเยียวยา โดยนัยนี้ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ต่อผู้ต้องขังและการให้ผู้ต้องขังได้รับการคุ้มครองทางกฎหมาย
ขั้นพื้นฐาน (ได้รับการแจ้งข้อหา ตลอดจนการพบทนาย แพทย์และ ยังไม่ครอบคลุมประเด็นที่มีข้อสังเกตเชิงสรุปและข้อเสนอแนะที่ไทย
ญาติ) การให้มีกลไกการส่งกลับคนต่างด้าวตามหลักการไม่ส่งตัว รับมาปฏิบัติภายใต้กลไก UPR หรือมีแล้วแต่ยังไม่ชัดเจน กล่าวคือ
กลับ การประกันเสรีภาพในการแสดงความเห็น (คุ้มครองนักพิทักษ์ การใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงซึ่งควรใช้โดยจ�ากัดและ
สิทธิมนุษยชน นักข่าว ผู้น�าชุมชน กฎหมาย) การแก้ปัญหาการค้า เท่าที่จ�าเป็น การสอบสวนและด�าเนินคดีแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐกรณี
มนุษย์และเยียวยาผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ทั้งนี้ แผนสิทธิมนุษยชน มีข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน กระท�าทรมาน หรือท�าให้
แห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑) ได้ก�าหนดแผนในการ บุคคลสูญหายโดยถูกบังคับ การชดเชยแก่ผู้เสียหาย การประกัน
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับสิทธิที่รับรองไว้ใน เสรีภาพในการแสดงความเห็น รวมถึงคุ้มครองนักข่าวในการเสนอ
ICCPR และอนุสัญญา CAT ได้แก่ แผนด้านการเมืองการปกครอง ข่าว คุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน การมีกลไกส่งกลับบุคคล
เน้นการแก้ไขสถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การให้ประชาชน บนหลักการไม่ส่งตัวกลับ การด�าเนินคดีการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
ตรวจสอบการใช้อ�านาจของภาครัฐ แผนด้านกระบวนการยุติธรรม และตามกฎหมายว่าด้วยการกระท�าผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เน้นการเปลี่ยนโทษประหารชีวิตเป็นจ�าคุกตลอดชีวิต ศึกษา อย่างเปิดเผย โปร่งใส การแก้ปัญหาการจับกุมคุมขังผู้โยกย้าย
ความเป็นไปได้ในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครอง ถิ่นฐานตามอ�าเภอใจ การกระท�ารุนแรงและแสวงหาประโยชน์
บุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ ปรับปรุงแก้ไข โดยมิชอบจากคนกลุ่มนี้
35