Page 64 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 64

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              ทั้งนี้ ในสมัยประชุมที่ ๘๔ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน   และเมื่อมีการเสียชีวิตในสถานที่คุมขัง มีการลงโทษผู้กระท�าผิดและ
              แห่งสหประชาชาติ (กลไกการติดตาม และตรวจสอบการปฎิบัติ  จ่ายค่าเสียหายแก่ผู้เสียหายหรือครอบครัว การปรับปรุงสภาพ
              งานตาม  ICCPR)  ระหว่างวันที่  ๑๙  -  ๒๐  กรกฎาคม  ๒๕๔๘     เรือนจ�าและใช้การจ�าคุกเป็นการลงโทษล�าดับสุดท้าย การยุติการ
              คณะกรรมการฯ มีข้อสังเกต (Concluding Observations)   ขังเดี่ยว มีการคุ้มครองเยาวชน และไม่ขังเยาวชนรวมกับผู้ใหญ่
                        ๒๒
              ต่อประเทศไทย  โดยเห็นควรให้มีการจัดตั้งกลไกสอบสวนที่เป็น   มีการจัดตั้งกลไกการส่งผู้ร้ายข้ามแดนหรือการส่งกลับคน
              กลางในกรณีตากใบ กรือเซะ และสงครามปราบปรามยาเสพติด   ต่างด้าว โดยเคารพต่อหลักการไม่ส่งตัวกลับ (Non – Refoule-
              การประกันว่าการประกาศใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง   ment) มีมาตรการป้องกันและคุ้มครองเสรีภาพในการแสดง
              ในพื้นที่ชายแดนภาคใต้สอดคล้องตามบทบัญญัติของ ICCPR    ความเห็นโดยเฉพาะการคุ้มครองนักข่าวนักหนังสือพิมพ์จากการ
              ข้อบทที่ ๔ ว่าด้วยการประกาศภาวะฉุกเฉิน (State of Emergency)   ถูกข่มขู่คุกคาม  มีมาตรการคุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน
              การทบทวนการใช้โทษประหารชีวิตกับคดีฐานความผิดเกี่ยวกับ  จากการถูกคุกคามท�าร้าย มีการสอบสวนเมื่อมีการกล่าวหา
              ยาเสพติด ประกันว่าผู้ถูกคุมขังจะเข้าถึงการได้รับค�าปรึกษาทาง  ว่าบุคคลดังกล่าวถูกคุกคามท�าร้ายโดยเจ้าหน้าที่รัฐ และมีการ
              กฎหมายและเข้าถึงแพทย์ ให้ผู้ถูกคุมขังมีโอกาสแจ้งครอบครัว  เยียวยาผู้เสียหายหรือครอบครัว  ตลอดจนมีมาตรการ
              ทราบเกี่ยวกับการจับกุมและสถานที่คุมขัง มีการสอบสวนทันที  น�าผู้กระท�าผิดค้ามนุษย์มาลงโทษและคุ้มครองพยานและ
              ที่มีการกล่าวหาว่ามีการกระท�าทรมานโดยเจ้าหน้าที่ต�ารวจ   ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์


















              ส่วนอนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี (CAT)  บทที่ ๓ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

              ประเทศไทยได้เป็นภาคีและมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โดยได้ท�าค�าแถลงตีความในข้อบทที่ ๑ นิยามค�าว่า “ทรมาน” ข้อบทที่ ๔
              การก�าหนดให้การทรมานเป็นความผิดอาญา และข้อบทที่ ๕ เขตอ�านาจเหนือความผิด ซึ่งให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายอาญา และจัด
              ท�าข้อสงวนตามข้อบทที่ ๓๐ วรรคหนึ่ง การให้น�าข้อพิพาทเกี่ยวกับการตีความหรือน�าอนุสัญญาไปใช้ขึ้นสู่การวินิจฉัยของศาลยุติธรรม
              ระหว่างประเทศ


              คณะกรรมการต่อต้านการทรมานในสมัยประชุมครั้งที่ ๑๒๓๙ เมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ได้มีข้อสังเกตเชิงสรุป
              กรณีประเทศไทย โดยเห็นว่า ประเทศไทยควรด�าเนินการยกเลิกค�าแถลงตีความข้อบทที่ ๑ ข้อบทที่ ๔ และข้อบทที่ ๕ สอบสวนกรณีมี
              การกระท�าการทรมานและการปฏิบัติที่โหดร้าย ฟ้องด�าเนินคดีและลงโทษผู้ที่รับผิดชอบ ประกันไว้ในกฎหมายว่าไม่อาจอ้างพฤติการณ์
              ใดเพื่อเป็นเหตุผลส�าหรับการทรมาน ใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงอย่างจ�ากัดและเท่าที่จ�าเป็น ทบทวนการบังคับใช้กฎหมายพิเศษ
              ด้านความมั่นคง ใช้มาตรการทางกฎหมายและทางปฏิบัติเพื่อประกันว่าผู้ถูกคุมขังจะได้รับการคุ้มครองทางกฎหมายขั้นพื้นฐาน (Legal
              Safeguards) ก�าหนดให้การบังคับบุคคลให้สูญหายเป็นความผิดทางอาญา การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย
              การคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ มีการสอบสวนเมื่อมีข้อกล่าวหาจะมีการทรมานหรือการปฏิบัติที่โหดร้าย
              และด�าเนินมาตรการยุติการคุกคามและท�าร้ายนักพิทักษ์สิทธิมนุษยชน นักหนังสือพิมพ์และผู้น�าชุมชน มีกรอบทางกฎหมายเพื่อแก้ไข
              สถานการณ์ผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิง ใช้มาตรการเพื่อแก้ไขสภาพแออัดในเรือนจ�า หลีกเลี่ยงการใช้โซ่ตรวนหรือใช้ภายใต้การดูแล
              จากแพทย์ มีการตรวจเยี่ยมสถานคุมขังทุกประเภทโดยผู้ตรวจเยี่ยมที่เป็นอิสระ ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมถึงต�ารวจ เจ้าหน้าที่
              เรือนจ�า ประกันว่าผู้เสียหายจะได้รับการชดใช้ค่าชดเชยที่เป็นธรรมและการบ�าบัดฟื้นฟู




              ๒๒   ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ohchr.org/EN/Countries/AsiaRegion/Pages/THIndex.aspx  (เข้า ดู ณ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๙)


                                                                                                           34
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69