Page 36 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 36
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ในการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนตามแนวทาง ที่ชัดเจน เป็นไปเพื่อเหตุผลที่ชอบธรรม รัฐไม่สามารถหา
ข้างต้นรายงานยังได้ค�านึงถึงหลักกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่าง วิธีการอื่นมาทดแทนได้ และการใช้อย่างจ�ากัดและเท่าที่จ�าเป็น
ประเทศที่ก�าหนดนัยส�าคัญอื่น ๆ ในการส่งเสริมและคุ้มครอง ได้สัดส่วนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และเป็นมาตรการจ�าเป็น
สิทธิมนุษยชน อาทิ สิทธิบางประการที่เป็นสิทธิแบบเบ็ดเสร็จ ในสังคมประชาธิปไตย เป็นต้น หรือกรณีที่สิทธิบางประเภทที่
เด็ดขาด (Non-Derogable Rights) ซึ่งมิอาจเพิกถอนหรือ รัฐจะสามารถท�าให้ก้าวหน้าหรือเป็นจริงได้ อาจต้องด�าเนินการ
๕
ลิดรอนได้ ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใดก็ตาม เช่น สิทธิที่จะ อย่างค่อยเป็นค่อยไปภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ (Progressive
มีชีวิตอยู่ สิทธิที่จะไม่ถูกทรมาน และในกรณีที่เป็นสิทธิที่รัฐ Realization of Rights) แต่รัฐก็จ�าเป็นต้องแสดงความมุ่งมั่น
อาจจ�ากัดหรือเพิกถอนได้ชั่วคราว (Derogable Rights) และมีแนวทางการด�าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือ
ในบางสถานการณ์ที่กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ มีการก�าหนดให้บรรลุเป้าหมายที่ชัดเจน (Progressive
ยินยอมให้รัฐกระท�าได้เพื่อวัตถุประสงค์บางประการ ได้แก่ ความ Achievement) เช่น มีแผนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา
มั่นคงของชาติ ความสงบเรียบร้อย การสาธารณสุข หรือเพื่อ ก�าลังบุคลากร ผู้รับผิดชอบ และการติดตามผลการปฏิบัติ
๖
ศีลธรรม โดยรัฐต้องด�าเนินการตามแนวทางที่เป็นที่ยอมรับ อย่างแท้จริง มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างเพียงพอ/เหมาะสม
ตามกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น มีการบัญญัติไว้เป็นกฎหมาย (Maximum Available Resources) และไม่มีการเลือกปฏิบัติ
(Non-discrimination)
ดังนั้น กสม. จะได้น�าเกณฑ์และแนวทางดังกล่าวข้างต้นมาประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในรายงานฉบับนี้ ทั้งนี้ ด้วยความพยายาม
ในการจัดท�ารายงานที่เสนอข้อมูลที่เป็นกลาง ปราศจากอคติ หรือมีข้อกังขาเกี่ยวกับที่มาของข้อมูลให้มากที่สุด กสม. จึงพยายาม
ใช้ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการปฏิบัติงานโดยตรง ทั้งจากการติดตามตรวจสอบกรณีร้องเรียน การติดตามสอบถามหน่วยงานปฏิบัติ
ทั้งภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนการปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นส่วนส�าคัญ ในขณะที่จะตรวจสอบความถูกต้อง
และความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ประกอบในบางส่วน
อนึ่ง ในกระบวนการจัดท�ารายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยที่ผ่านมาขององค์กร พบว่า กลไกและกระบวนการ
ติดตามประเมินสถานการณ์มีลักษณะเฉพาะกิจ โดยมีเป้าหมายในการจัดท�ารายงานประจ�าปี มากกว่าการด�าเนินงานเฝ้าระวัง
และประเมินสถานการณ์อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อน�าผลของการเฝ้าระวังมารวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อจัดท�า บทที่ ๑ กรอบการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
เป็นรายงานในแต่ละปี กสม. จึงได้เริ่มพัฒนากลไกเฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
อย่างเป็นระบบ (Monitoring, Evaluation and Reporting Mechanism) เพื่อให้สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของ NHRIs
ตามหลักการปารีสยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการจัดท�ารายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจ�าปี ๒๕๕๘ อย่างไรก็ดี
การพัฒนากลไกดังกล่าว จ�าเป็นต้องพัฒนาระบบการด�าเนินงานภายในองค์กร การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและระบบฐานข้อมูล ซึ่งคาดว่า
จะใช้ระยะเวลาหนึ่งเพื่อให้กลไกการด�าเนินงานมีความสมบูรณ์ และสามารถด�าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเต็มที่
๕ ได้แก่ สิทธิที่ปรากฏตามข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๕ ข้อ ๑๖ และข้อ ๑๘ ตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR)
๖ ข้อ ๑๙ (๓) ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR)
6