Page 39 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 39
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญในรอบปี ๒๕๕๘
ประมวลสรุปภาพรวมใน ๓ ส่วนหลัก ๆ ดังต่อไปนี้
๒.๑ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ในมิติการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และการต่อต้านการทรมาน การประติบัติหรือการลงโทษ
อื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี ที่เกิดขึ้นปี ๒๕๕๘ กสม. แบ่งสถานการณ์ออกเป็น ๕ เรื่องหลัก ได้แก่ (๑) สิทธิในกระบวนการ
ยุติธรรม (๒) การซ้อมทรมาน และการสูญหายโดยถูกบังคับ (๓) โทษประหารชีวิต (๔) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และ (๕) สถานการณ์
สิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี คือ กติการะหว่างประเทศ
ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) อนุสัญญา
ต่อต้านการทรมาน และการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี (Convention Against Torture
and other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment : CAT) และอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคล
ทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ (International Convention for the Protection of All Persons form Enforced
Disappearance: CED) ซึ่งแม้ว่าประเทศไทยยังอยู่ในระหว่างกระบวนการให้สัตยาบันเพื่อเข้าเป็นภาคี โดยอนุสัญญาฯ จะยังไม่มี
ผลใช้บังคับกับประเทศไทย แต่รัฐบาลก็จะต้องไม่กระท�าการใด ๆ ที่เป็นการขัดต่อสาระและความมุ่งประสงค์ (Objects and Purposes)
ของอนุสัญญาดังกล่าว นอกจากนี้ ยังรวมถึงข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยได้รับมาปฏิบัติภายใต้กลไก UPR
ที่เกี่ยวกับสิทธิที่ได้รับรองไว้ในกติกา ICCPR อนุสัญญา CAT และอนุสัญญา CED ทั้งนี้ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมืองสรุปได้ ดังนี้
สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ในปี ๒๕๕๘ สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม ๑๕๐ ค�าร้อง โดยสิทธิ
รัฐได้มีความพยายามในการท�าให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการ ในกระบวนการยุติธรรมที่มีการร้องเรียนกล่าวอ้างว่ามีการละเมิด
ยุติธรรม และได้รับความช่วยเหลือจากรัฐในการเข้าถึง สิทธิมนุษยชนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ได้แก่
ความยุติธรรม โดยมีการตรากฎหมายและปรับแก้กฎหมาย สิทธิของผู้ต้องหา สิทธิของผู้เสียหาย สิทธิในการเข้าถึง
หลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ กระบวนการยุติธรรม และสิทธิของผู้ต้องขัง นอกจากนี้ ยังมี
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย ผู้ยื่นค�าร้องเพื่อขอให้ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
๗
แก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ ร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ จากการใช้อ�านาจของทหาร จ�านวน ๘ ค�าร้อง เช่น กรณีควบคุม
พ.ศ. .... ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และประมวลกฎหมาย ตัวจากเหตุการณ์เดินทางไปอุทยานราชภักดิ์ กรณีควบคุมตัว
อาญา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม กสม. ยังคงได้รับค�าร้องเรียนขอให้ จากเหตุการณ์ท�ากิจกรรมเพื่อร�าลึกครบรอบ ๑ ปี รัฐประหาร
ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ผู้ร้องอ้างว่าถูกละเมิด บริเวณหน้าหอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพ เป็นต้น
๗ ค�าร้องที่ ๑๐/๒๕๕๘ ค�าร้องที่ ๕๑/๒๕๕๘ ค�าร้องที่ ๑๖๕/๒๕๕๘ ค�าร้องที่ ๓๔๑/๒๕๕๘ ค�าร้องที่ ๕๗๖/๒๕๕๘ ค�าร้อง ๕๗๗/๒๕๕๘ ค�าร้องที่ ๕๗๘/๒๕๕๘ ค�าร้องที่ ๕๗๙/๒๕๕๘
ดูรายละเอียดได้ที่ <http://hris.nhrc.or.th/nhrc/2015/ExamineComplaint/ExamineComplaintProgressList.aspx#/> (เข้าดู ณ วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๙)
9