Page 34 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 34

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘







                นอกจากนี้ ประเทศไทยได้แสดงเจตนารมณ์ที่จะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคน
                จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ (Convention for the Protection of All Persons from Enforced
                Disappearance: ICCPED หรือ CED) โดยได้ลงนามเมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๕ และยังอยู่ในระหว่างกระบวนการให้สัตยาบัน

                เพื่อเข้าเป็นภาคี แม้ว่าในช่วงดังกล่าว อนุสัญญาฯ จะยังไม่มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย แต่รัฐบาลต้องไม่กระท�าการใด ๆ
                ที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิส�าคัญในอนุสัญญาดังกล่าว ๓


                นอกจากสนธิสัญญาหลัก ๗ ฉบับข้างต้นแล้ว ประเทศไทยยังได้เข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของสนธิสัญญาข้างต้นในบางฉบับซึ่งขยาย
                ผลการคุ้มครองสิทธิให้กว้างขวางขึ้นจากสนธิสัญญาหลัก โดยพิธีสารที่ไทยเข้าเป็นภาคีแล้วมี ๔ ฉบับ ได้แก่







             ๑                                                   ๓






             พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือก    พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กในส่วนที่
             ปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Optional Protocol to the   เกี่ยวข้องกับเด็กในสภาวะความขัดแย้งที่มีการใช้อาวุธ

             Convention  on  the  Elimination  of  All  Forms  of     (Optional Protocol to the Convention on the Rights of
             Discrimination Against Women: OP-CEDAW) ซึ่งมีสาระ   the Child on the Involvement of Children in Armed
             ส�าคัญเกี่ยวกับการยอมรับอ�านาจของคณะกรรมการประจ�า   Conflict: OP-CRC-AC) ซึ่งประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีพิธีสาร
             อนุสัญญาฯ  ในการรับและพิจารณาข้อร้องเรียนในกรณีที่มี   ฉบับนี้ด้วยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
             ได้ให้สัตยาบันพิธีสารฉบับนี้ เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๓ ๔
             การละเมิดพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาฯ โดยผู้ร้องเรียนอาจเป็น

             บุคคล กลุ่มบุคคลในนามผู้ถูกละเมิดสิทธิก็ได้ ทั้งนี้ ประเทศไทย


             ๒                                                   พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก  ว่าด้วย

                                                                 กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน (Optional Protocol to
                                                                 the Convention on the Rights of the Child on a
             พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก  ว่าด้วยการ   Communications Procedure: OP3 CRC) ซึ่งประเทศไทย
             ขายเด็ก โสเภณีเด็กและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก (Optional    ได้ให้สัตยาบันพิธีสารฉบับนี้ เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕
             Protocol to the Convention on the Rights of the Child                                                    บทที่ ๑ กรอบการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
             on the Sale of Children, Child Prostitution and Child

             Pornography: OP-CRC-SC) ซึ่งประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคี
             พิธีสารดังกล่าวด้วยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ ๑๑  มกราคม ๒๕๔๙








              ๓   ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙ คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ประเทศไทยให้สัตยาบันอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคล จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ
              ขององค์การสหประชาชาติ เเละมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติป้องกันเเละปราบปรามเเละการบังคับบุคคลให้สูญหาย พ.ศ. .... เเละอยู่ในระหว่างการเสนอต่อสภาบัญญิติเเห่งชาติ
                                                                                                            4
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39