Page 176 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 176
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
>> การได้รับบริการสาธารณสุข
ระบบประกันสุขภาพของภาครัฐส�าหรับกลุ่มคนพิการ พบว่าระบบประกันสุขภาพของรัฐทั้ง ๓ ระบบ คือ ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ ระบบกองทุนประกันสังคม ซึ่งทั้ง ๓ ระบบนั้นได้ก�าหนดสิทธิประโยชน์ด้านสาธารณสุข
ของคนพิการที่แตกต่างกัน โดยระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ให้สิทธิประโยชน์ในอุปกรณ์ส�าหรับช่วยเหลือคนพิการทุกประเภท
ซึ่งคนพิการไม่ต้องส�ารองจ่ายค่าอุปกรณ์แต่อย่างใด และมีอุปกรณ์ที่เบิกได้ ๕๔ รายการ โดยคนพิการสามารถรับบริการจาก
สถานพยาบาลแห่งใดก็ได้ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เบิกอุปกรณ์ได้ ๘๐ รายการ แต่จ�ากัดเพียงอุปกรณ์
ที่ใช้กับคนพิการทางการเห็น การได้ยิน และการเคลื่อนไหว ระบบกองทุนประกันสังคม มีอุปกรณ์ส�าหรับคนพิการเพียง ๒๙ รายการ
โดยจ�ากัดเฉพาะความพิการประเภทการได้ยินและการเคลื่อนไหว ซึ่งคนพิการจะต้องส�ารองจ่ายค่าอุปกรณ์ไปก่อนและจ�ากัดการรับบริการ
อยู่ที่สถานพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนไว้ ๒๓๐
มีข้อสังเกตจากคณะกรรมการประจ�าอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของ แพทย์โดยไม่สมัครใจ เช่น การบังคับท�าหมันตามค�าแนะน�า
คนพิการ ถึงกรณีการให้บริการและข้อมูลด้านสาธารณสุขนั้น ของบุคคลในครอบครัวหรือผู้ดูแล อีกทั้งรัฐควรด�าเนินมาตรการ
ยังเข้าไม่ถึงคนพิการ โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท โดยรัฐควรจัดอบรม ที่มีประสิทธิภาพเพื่อคุ้มครองคนพิการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
สร้างองค์ความรู้แก่บุคลากรสาธารณสุขเกี่ยวกับสิทธิของคนพิการ การท�าหมันและท�าแท้ง ตลอดจนประกันว่าจะมีการเคารพ
รวมถึงให้รัฐเร่งด�าเนินการรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้ สิทธิของบุคคลในการให้ความยินยอมโดยเสรีและได้รับข้อมูล
ต่อทัศนคติด้านลบและการตีตราต่อคนพิการจากความเชื่อทาง ประกอบการตัดสินใจก่อนการรักษาและควรมีกลไกเพื่อ บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
วัฒนธรรม การที่คนพิการถูกบังคับให้รับการรักษาทางการ สนับสนุนการตัดสินใจดังกล่าว
ตารางสิทธิประโยชน์ในระบบประกันสุขภาพของรัฐ
ประเภทความพิการ กองทุนประกันสังคม สวัสดิการข้าราชการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การได้ยิน
การเคลื่อนไหว
การมองเห็น
ออทิสติก
สติปัญญา
จิตใจ
การเรียนรู้
ด้านสตรีและเด็กหญิงพิการ อาจเสี่ยงจากการถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุหลายประการและการถูกเลือกปฏิบัติซ�้าซ้อน เนื่องจากความเป็น
สตรีและเด็กซึ่งสังคมอาจมองว่าเป็นบุคคลที่มีความอ่อนแอ ประกอบกับความพิการที่เป็นเงื่อนไขท�าให้สตรีและเด็กหญิงพิการต้องใช้ชีวิต
อยู่ภายใต้การดูแลของครอบครัว จึงไม่ได้รับโอกาสเท่าที่ควร โดยที่ผ่านมา กลุ่มสตรีและเด็กหญิงพิการเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการขาดโอกาส
และเปราะบางต่อการถูกละเมิดสิทธิ ซึ่งนโยบายรัฐที่ออกมาส่วนใหญ่จะสอดคล้องกับความพิการ แต่ยังขาดการพิจารณาในเรื่องเพศสภาพ
และอายุเข้ามาเป็นองค์ประกอบ
๒๓๐ โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒๓ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
146