Page 172 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 172
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
๒. สถานการณ์ทั่วไป
จากการที่ประเทศไทยได้เสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน หรือทางร่างกายจ�านวนมากที่สุด
ของประเทศ (Universal Periodic Review : UPR) รอบที่ ๑ เมื่อวันที่ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา
๕ ตุลาคม ๒๕๕๔ โดยในครั้งนั้นประเทศไทยรับข้อเสนอแนะเพื่อน�ามาปฏิบัติ คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ (แก้ไขเพิ่มเติม
ทั้งสิ้น ๑๓๔ ข้อ จากทั้งหมด ๑๗๒ ข้อ และได้ประกาศค�ามั่นโดยสมัครใจ พ.ศ. ๒๕๕๖) ได้ก�าหนดกลไกในการคุ้มครองส่งเสริม
อีก ๘ ข้อ โดยในส่วนของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการนั้น ประเทศไทย คุณภาพชีวิตคนพิการ โดยให้มีคณะกรรมการ
ได้ประกาศค�ามั่นในเรื่อง การถอนถ้อยแถลงตีความ ข้อ ๑๘ ตามอนุสัญญา ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
ว่าด้วยสิทธิคนพิการ เรื่อง เสรีภาพในการโยกย้ายถิ่นฐานและการถือสัญชาติ ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ และมี
ของเด็กพิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์เป็นรองประธานกรรมการ และ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
ได้ตราขึ้นแทนพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ มีปลัดกระทรวงต่าง ๆ ตลอดจนผู้แทนองค์การ
โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ คนพิการแต่ละประเภทจ�านวน ๗ คน และผู้ทรงคุณวุฒิ
ให้ความส�าคัญในการขจัดการกระท�าที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม อีก ๖ คนซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการ บทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
ต่อคนพิการ และได้แก้ไขเพิ่มเติมในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อให้คนพิการได้เข้าถึง ทั้งนี้ เพื่อผลักดันนโยบาย/แผนงานก�าหนดระเบียบ
สิ่งอ�านวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะรวมถึงสวัสดิการและการช่วยเหลือ และวิธีการเกี่ยวกับการช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุน
จากรัฐเพิ่มมากขึ้น ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ก�าหนดให้คนพิการที่มี และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแก่หน่วยงาน
สัญชาติไทยยื่นค�าขอมีบัตรประจ�าตัวคนพิการต่อนายทะเบียนกลางหรือ ของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมีอ�านาจ
นายทะเบียนจังหวัด ณ ส�านักงานทะเบียนกลาง หรือส�านักงานทะเบียนจังหวัด วินิจฉัยและมีค�าสั่งเพิกถอนการกระท�าหรือห้าม
ทั้งนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ประกาศเรื่อง มิให้กระท�าการที่มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ
ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการซึ่งก�าหนดประเภทความพิการไว้ ๗ ลักษณะ โดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการ และก�าหนดระเบียบ
คือ ความพิการทางการเห็น ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนส่งเสริมและ
ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย ความพิการทางจิตใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
หรือพฤติกรรม ความพิการทางสติปัญญา ความพิการทางการเรียนรู้
และความพิการทางออทิสติก ทั้งนี้ พบว่ามีคนพิการอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป
จ�านวน ๙๐๓,๓๔๖ คน และมีคนพิการประเภทความพิการทางการเคลื่อนไหว
142