Page 128 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 128

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



              แม้ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับถาวร แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช
              ๒๕๕๗ ก็ได้ให้การรับรองสิทธิและเสรีภาพของบรรดาชนชาวไทยไว้ตามบทบัญญัติมาตรา ๔   โดยสาระเกี่ยวกับสิทธิในการท�างานที่รัฐธรรมนูญ
                                                                            ๑๕๒
              แห่งราชอาณาจักรไทยได้ให้การรับรองไว้นั้น เป็นเรื่องของเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรี
              อย่างเป็นธรรม การให้หลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการท�างาน รวมทั้งหลักประกันในการด�ารงชีพทั้งในระหว่างการท�างาน

              และเมื่อพ้นจากการท�างาน




                ๒  สถานการณ์ทั่วไป
























              ประเทศไทยได้รับข้อเสนอแนะจากประเทศสมาชิกตามกระบวนการ   UPR ในการที่จะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงาน บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
              UPR มาด�าเนินการในเรื่องการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้านการ  ระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ รวมทั้งจะพัฒนา
              ท�างานให้ได้มาตรฐาน อาทิ การประกันค่าแรงขั้นต�่า ความปลอดภัย  การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของแรงงาน การป้องกัน
              ในการท�างาน และการประกันการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ เป็นต้น   การค้ามนุษย์  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  การเพิ่มประสิทธิภาพ
              โดยเฉพาะกับกลุ่มเปราะบาง เช่น แรงงานเด็ก สตรี และคนพิการ   ของระบบตรวจสอบแรงงานทั้งระบบโดยสถานการณ์ทั่วไป
              การเพิ่มความพยายามอย่างต่อเนื่องในการขจัดปัญหาการค้ามนุษย์   ของแรงงานของไทย ปรากฏดังนี้
              นอกจากนี้ ยังได้ให้ค�ามั่นโดยสมัครใจ (Pledge) ต่อที่ประชุม



              ๒.๑  สภาพการท�างานและระบบประกันสังคม

              จากข้อมูลการส�ารวจแรงงานของประเทศไทย (เฉพาะที่ถูกกฎหมาย) ของส�านักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ปี ๒๕๕๖ มีจ�านวนก�าลังแรงงาน
              รวมทั้งสิ้น ๓๘.๕ ล้านคน เป็นผู้มีงานท�า ๓๙.๑ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๙๙ จ�าแนกเป็นแรงงานในระบบ ๑๔.๐ ล้านคน และแรงงาน
              นอกระบบ ๒๕.๑ ล้านคน ในปี ๒๕๕๗ มีจ�านวนก�าลังแรงงานรวมทั้งสิ้น ๓๘.๖ ล้านคน เป็นผู้มีงานท�า ๓๘.๔ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ
              ๙๙.๔๘ จ�าแนกเป็นแรงงานในระบบ ๑๖.๓ ล้านคน และแรงงานนอกระบบ ๒๒.๑ ล้านคน และปี ๒๕๕๘ มีจ�านวนก�าลังแรงงานรวมทั้งสิ้น
              ๓๘.๘ ล้านคน เป็นผู้มีงานท�า ๓๘.๓ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๗๑ จ�าแนกเป็นแรงงานในระบบ ๑๖.๙ ล้านคน และแรงงานนอกระบบ
              ๒๑.๔ ล้านคน ตามล�าดับ จากสถิติดังกล่าวจะเห็นได้ว่า จ�านวนผู้มีงานท�าของปี ๒๕๕๖, ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๘ เมื่อเปรียบเทียบจ�านวน
              ก�าลังแรงงานรวมทั้งสิ้นกับจ�านวนผู้มีงานท�าของประเทศ แสดงให้เห็นว่าก�าลังแรงงานของประเทศไทยเป็นผู้มีงานท�าในอัตราสูง
              อีกทั้งยังมีจ�านวนผู้มีงานท�าที่เป็นแรงงานในระบบมีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี แต่ถึงอย่างไรก็ตาม พบว่า ประเทศไทยยังคงมีจ�านวนผู้มีงาน
              ท�าที่เป็นแรงงานนอกระบบสูงกว่าจ�านวนแรงงานในระบบ


             ๑๕๒    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔ บัญญัติว่า “ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาค
             บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับการคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยมี
             อยู่แล้ว ย่อมได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้”


                                                                                                           98
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133