Page 127 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 127
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘
นอกจากนี้ รัฐบาลได้รับรองและคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพของทุกคนในประเทศไทยตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economics, Social and Cultural Rights- ICESCR) โดย
• การประกันสิทธิขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขให้กับบุคคลที่มี • การขยายความคุ้มครองในสิทธิด้านสุขภาพให้กับแรงงาน
ปัญหาด้านสถานะและสิทธิบุคคล ซึ่งได้แก่ ชนกลุ่มน้อยและบุตร คนต่างด้าว รวมทั้งผู้ติดตามซึ่งอยู่ในประเทศไทย โดยให้บริการ
ที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยซึ่งเป็นบุคคลไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ ตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพให้กับแรงงานต่างด้าว ๔ สัญชาติ
และกลุ่มบุคคลที่ได้รับการส�ารวจและจดทะเบียนสถานะและ ได้แก่ เมียนมา กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ซึ่งไม่ได้อยู่ในระบบ
สิทธิบุคคลเพื่อการคืนสิทธิ ประกันสังคม พร้อมกับผู้ติดตาม
อย่างไรก็ดี การเข้าถึงระบบการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่อยู่ห่างไกล กลุ่มเปราะบาง เช่น คนพิการ แรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม
กลุ่มที่อยู่นอกระบบ ตลอดจนคุณภาพ ความพอเพียงของการให้บริการ รวมทั้งความเหลื่อมล�้าในการได้รับสิทธิที่แตกต่างกันของระบบ
หลักประกันสุขภาพทั้ง ๓ ระบบ ยังคงเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
๔.๒.๔ สิทธิในการท�างาน
๑ หลักการด้านสิทธิมนุษยชน
๑๕๐
“สิทธิในการท�างาน” (right to work) เป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน สถานการณ์ด้านสิทธิแรงงานในประเทศไทย กล่าวคือ ในเรื่อง
ซึ่งปรากฏอยู่ในตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศหลายฉบับ สภาพการท�างานและหลักประกันสังคม ยังมีคนท�างานบางกลุ่ม เช่น
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกติกา ICESCR ซึ่งประเทศไทยเข้าเป็น คนงานนอกระบบ คนท�างานบ้าน คนงานเหมาช่วง ที่ไม่สามารถ
ภาคีและมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตาม โดยในส่วนที่ ๓ ของ เข้าถึงสิทธิในการท�างานอย่างเต็มที่ และยังไม่ได้รับการคุ้มครอง
กติกา (ข้อ ๖-๙) ได้กล่าวถึงสาระของสิทธิที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ ทั้งด้านกฎหมายและสังคม รวมไปถึงยังมีช่องว่างทางกฎหมาย
ในการท�างาน ได้แก่ สิทธิในการท�างานและมีเงื่อนไขการท�างาน ที่ส่งผลกระทบต่อผู้หญิง การใช้แรงงานบังคับ ซึ่งเกิดขึ้น
ที่เหมาะสมเป็นธรรม สิทธิที่จะก่อตั้งสหภาพแรงงานและสิทธิที่จะ อย่างต่อเนื่องในประเทศ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมประมง ค่าจ้าง
หยุดงาน สิทธิที่จะได้รับสวัสดิการและประกันด้านสังคม ซึ่งในเรื่อง ขั้นต�่าที่ก�าหนดโดยรัฐไม่สามารถประกันให้แรงงานและครอบครัว
ดังกล่าว คณะกรรมการประจ�ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทาง มีสภาพการด�ารงชีวิตอย่างเหมาะสมได้ และช่องว่างของค่าจ้าง
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ได้มีข้อสังเกตเชิงสรุปต่อรายงาน ในด้านความแตกต่างด้านค่าจ้างที่ยังเกิดขึ้นระหว่างแรงงานชาย
การปฏิบัติงานฉบับที่ ๑ และ ๒ ของประเทศไทย ตามกติการะหว่าง และหญิงสิทธิด้านสหภาพแรงงาน สิทธิการก่อตั้งสหภาพแรงงาน
ประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (E/C.12/ สิทธิในการนัดหยุดงาน ตามพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ
THA/CO/1-2) ในการประชุมครั้งที่ ๒๘ – ๓๐ ๑๕๑ ระหว่างวันที่ สัมพันธ์ ยังเป็นปัญหาโดยพนักงานของรัฐซึ่งไม่มีสิทธิในการนัด
๔ – ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘ ซึ่งได้รับรองรายงานในการประชุมสมัยที่ ๕๐ หยุดงาน
เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ โดยได้แสดงถึงความกังวลต่อ
๑๕๐ ในส่วนที่น�าเสนอเป็นสิทธิในการท�างานทั่วไป ส่วนสิทธิของแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม ดูรายละเอียดในบทที่ ๕ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเปราะบาง
๑๕๑ (E/C.12/2015/SR.28, 29 และ 30)
97