Page 123 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 123
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ ปี ๒๕๕๘
ในเรื่องของคุณภาพการให้บริการด้านสุขภาพ รัฐบาลได้มุ่งยกระดับคุณภาพการบริการด้านสุขภาพ โดยจัดตั้งคณะกรรมการก�าลังคนด้าน
สุขภาพแห่งชาติ โดยคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เพื่อท�าหน้าที่ในการให้ค�าปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการ
สุขภาพแห่งชาติ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงาน ขับเคลื่อนและผลักดันการด�าเนินงาน และประสาน
งานสนับสนุนหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับก�าลังคนด้านสุขภาพให้สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษก�าลังคนด้านสุขภาพ
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๙ ๑๓๙ โดยมีการวางแผนก�าลังคนด้านสุขภาพให้สอดคล้องกับการให้บริการ การปรับเปลี่ยนระบบการผลิตและ
การพัฒนาก�าลังคนด้านสุขภาพ และการบริหารจัดการก�าลังคนด้านสุขภาพให้มีการกระจายบุคลากรอย่างเป็นธรรม เพื่อปฏิบัติงานได้อย่าง
๑๔๐
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยจากรายงานการศึกษาวิจัยการประมาณความต้องการก�าลังคนทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ในระยะ ๑๐ ปี ข้างหน้า (๒๕๕๒-๒๕๖๒) พบว่า ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีแพทย์ทั้งสิ้นจ�านวน ๔๗,๘๐๙ คน และ
๑๔๑
คาดการณ์ความต้องการแพทย์ในปี ๒๕๖๔ ว่าโรงพยาบาลชุมชนจะต้องการแพทย์ทั่วไปเพิ่มขึ้น ในขณะที่โรงพยาบาลศูนย์และมหาวิทยาลัย
จะต้องการแพทย์เฉพาะทาง และในปี ๒๕๖๐ ความต้องการพยาบาลวิชาชีพต่อประชากรจะมีอัตราส่วน ๑ ต่อ ๔๕๐ จึงจ�าเป็นต้องมีการวางแผน
การผลิตพยาบาลวิชาชีพที่เหมาะสม โดยควรผลิตจ�านวนพยาบาลวิชาชีพจ�านวน ๘,๐๐๐ คน ต่อปี และควรพิจารณาการจัดสรรบุคลากร
เพื่อสอนวิชาชีพสอนวิชาชีพด้านการพยาบาล จ�านวน ๑,๐๐๐ คน เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพการบริการให้ดียิ่งขึ้น
๑๔๒
นอกจากนี้ นโยบายด้านสุขภาพของรัฐบาล “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน” ร่วมกับส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ท�าให้
เกิดสิทธิในการรับบริการในกรณีฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ โดยผู้ป่วยที่เข้ารับบริการในกรณีฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุจะเข้าโรงพยาบาลใดก็ได้ โดยไม่
ต้องถามสิทธิ ไม่ต้องส�ารองจ่าย ซึ่งการบริการฉุกเฉิน สถานพยาบาลที่ให้การรักษาจะเป็นผู้ด�าเนินการเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาลโดยตรง
(Emergency Claim Online: EMCO) กับส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การพัฒนาระบบการให้บริการฉุกเฉินในระบบ
หลักประกันสุขภาพ ท�าให้ประชาชนได้รับสิทธิในการรับบริการด้านสุขภาพที่ดีขึ้น โดยในปี ๒๕๕๘ พบว่า มีผู้ป่วยใช้บริการไปแล้วจ�านวน
๖,๓๓๐ คน จ�าแนกเป็นผู้ป่วยใน จ�านวน ๕,๔๑๗ คน และผู้ป่วยนอกจ�านวน ๘๕๙ คน จากโรงพยาบาลจ�านวน ๓๕๘ แห่ง ๑๔๓ แต่ถึงอย่างไรก็ตาม
ในทางปฏิบัติกลับพบว่า มีผู้ป่วยจ�านวนมากที่ใช้สิทธิตามนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินฯ ต้องส�ารองเงินค่ารักษาพยาบาลไปก่อน และไม่สามารถ
เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เต็มจ�านวนกับที่จ่ายไป ซึ่งในเรื่องนี้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้มีข้อเสนอแนะต่อกระทรวงสาธารณสุข
ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงสิทธิตามนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินบรรลุผลให้เป็น
รูปธรรมยิ่งขึ้น อันเป็นการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน โดยได้มีข้อเสนอแนะให้ด�าเนินการ ดังนี้
๑ ๒
การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์การเข้ารับบริการ การจัดระบบบริหารจัดการการเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาลโดยตรงในกรณีที่
ตามนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินฯ ให้แก่ประชาชน เข้ารับบริการฉุกเฉิน (Emergency Claim Online: EMCO) จากโรงพยาบาล
และผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับทราบถึงสิทธิ รวมถึง เอกชนที่ไม่ใช่คู่สัญญากับระบบบริการสาธารณสุขกับส�านักงานหลักประกัน
การช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายจากการใช้สิทธิตาม สุขภาพแห่งชาติ และการก�าหนดแนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
นโยบายดังกล่าวฯ จากโรงพยาบาลเอกชนหรือโรงพยาบาลอื่นใด อันเนื่องมากจากการเก็บเงิน
ค่ารักษาพยาบาล
๓ ๔
การก�าหนดมาตรการ และจัดสรรเงินกองทุน การก�าหนดวิธีการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ อันเนื่องจาก
อย่างเพียงพอเพื่อรองรับการปฏิบัติตามนโยบาย ประสบอุบัติเหตุตามนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินฯ รวมถึงหน่วยงานที่เป็นผู้รับผิดชอบ
เจ็บป่วยฉุกเฉินโดยมิให้ตกเป็นภาระของผู้ป่วย หลักในการเบิกจ่าย และ
๑๓๙ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, http://phpp.nationalhealth.or.th/
๑๔๐ แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษก�าลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๙
๑๔๑ ส�านักงานเลขาธิการแพทยสภา เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘
๑๔๒ รายงานการวิจัยความต้องการก�าลังคนทางด้านสุขภาพของระบบการให้บริการสุขภาพ ระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ ในประเทศไทย ระยะที่ ๒ ผลการวิเคราะห์ความต้องการแพทย์ทั่วไป และ
แพทย์เฉพาะทางในประเทศไทย และการพยากรณ์ความต้องการแพทย์ในอนาคต โดย ศ.นพ.ดร.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย ดร.พุดตาน พันธุเณร ศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ
๑๔๓ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภายใต้การสนับสนุนจากคณะกรรมการก�าลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ
นโยบายข้อ ๕ การยกระดับคุณภาพและบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน รายงานผลการด�าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ครบรอบ ๑ ปี (๑๒
กันยายน ๒๕๕๗-๑๒ กันยายน ๒๕๕๘)
93