Page 124 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 124

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



                 ๕
                 การก�าหนดมาตรการทั้งในระยะเร่งด่วนและระยะยาวเพื่อช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายอันเนื่องมาจากนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉิน
                 ที่เป็นรูปธรรม นอกจากนี้ กสม. ยังได้มีข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย โดยเห็นว่า กระทรวงสาธารณสุข (กรมสนับสนุน
                 บริการสุขภาพ) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๓๖ วรรค
                 แรก ซึ่งบัญญัติว่า “ผู้รับอนุญาตและผู้ด�าเนินการของสถานพยาบาลต้องควบคุมและดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วย
                 ซึ่งอยู่ในสภาพอันตรายและจ�าเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉินเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นจากอันตรายตามมาตรฐานวิชาชีพและ
                 ตามประเภทของสถานพยาบาลนั้น ๆ” โดยใช้เพิ่มเติมว่า “ให้สถานพยาบาลแจ้งสิทธิการรักษาในกรณีเจ็บป่วยแก่ผู้ป่วยหรือญาติ
                 และให้เบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลจากส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ๑๔๔




              จากสถานการณ์ข้างต้น พบว่า แนวโน้มของจ�านวนผู้ได้รับ  ที่ด�าเนินการดูแลผู้ที่ได้รับความเสียหายจากการบริการสาธารณสุข
              ความเสียหาย หรือได้รับผลกระทบจากการเข้ารับบริการด้าน  ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อีกทั้ง
              สุขภาพยังมีจ�านวนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งปัญหา  เป็นการประหยัดงบประมาณการด�าเนินการอีกด้วย และ (๒)
              การเผชิญหน้าระหว่างผู้เสียหายกับบุคลากรทางการแพทย์ ดังนั้น   กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ควรมีอ�านาจหน้าที่
              เพื่อเป็นการคุ้มครองประชาชนที่ได้รับความเสียหายหรือผลกระทบ  ชัดเจนในการระงับหรือเพิกถอนใบอนุญาตสถานพยาบาล
              ดังกล่าว รัฐบาลจึงได้พิจารณาทบทวน “(ร่าง) พระราชบัญญัติ  และประกอบโรคศิลปะในกรณีที่สถานพยาบาลกระท�าการฝ่าฝืน บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
              กองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข   ค�าสั่งที่ออกมาอันเกี่ยวกับกองทุนในร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว
              พ.ศ. ....” โดยกระทรวงสาธารณสุข และ “(ร่าง)   พระราชบัญญัติ  รวมถึงได้มีข้อเสนอในการปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติฯ เช่น ขอให้
              คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากระบบบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ”  เปลี่ยนชื่อร่างพระราชบัญญัติฯ เป็น “(ร่าง) พระราชบัญญัติคุ้มครอง
              ซึ่งประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้เข้าชื่อเสนอผ่านคณะกรรมการ  ผู้เสียหายจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ” เพื่อที่จะสอดคล้อง
              ปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) จากร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครอง  เจตนารมณ์ทางกฎหมายในการมุ่งคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหาย
              ผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข ๑๔๕  พ.ศ. .... โดย  หรือผู้ได้รับความเสียหายที่ครอบคลุมมิติทางกฎหมายที่ดีขึ้น
              กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งร่างกฎหมายดังกล่าวพิจารณาแล้วเห็นว่า  เสนอให้อธิบดีกรมบัญชีกลางซึ่งเป็นผู้ดูแลระบบสวัสดิการรักษา
              เนื้อหาในร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง  พยาบาลของข้าราชการ ควรเข้ามาเป็นหนึ่งในองค์ประกอบ
              สิทธิมนุษยชนของผู้ได้รับผลกระทบจากการเข้ารับบริการสาธารณสุข  ของคณะกรรมการกองทุน สิทธิในการได้รับเงินค่าชดเชยไม่ควร
              จึงได้มีข้อเสนอแนะนโยบายให้กระทรวงสาธารณสุขประกอบด้วย   ระงับไปเพราะเหตุอันเนื่องจากการไม่รับเงินชดเชยและจะฟ้อง
              (๑) ส�านักงานหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงาน  คดีต่อศาล หรือการรับเงินชดเชยบางส่วน และสิทธิการฟ้องคดี
              ที่มีประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ และความพร้อมทางบุคลากร  ต่อศาลของผู้เสียหายไม่ควรถูกตัดในกรณีได้รับเงินชดเชย
              ควรเป็นหน่วยงานในการดูแลและรับผิดชอบการด�าเนิน   ความเสียหายแล้ว เป็นต้น
              การตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ เนื่องจากเป็นหน่วยงาน























              ๑๔๔   รายงานผลการพิจารณาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่ ๖๙ /๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘  เรื่อง นโยบายรัฐบาล “ เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน”
              ๑๔๕   รายงานผลการพิจารณาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่ ๔๘๒/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการ
              บริการสาธารณสุข พ.ศ. ....

                                                                                                           94
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129