Page 122 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 122

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘





                ๓ สถานการณ์ปี ๒๕๕๘


              จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่ก�าลังเข้าสู่สภาวะคนสูงวัยเพิ่มมากขึ้น ท�าให้เกิดแนวโน้ม
              ความเสี่ยงในการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าทั้ง ๓ ระบบ ซึ่งได้แก่ ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบประกันสังคม
              และระบบสวัสดิการข้าราชการ ดังนั้น ในอนาคตรัฐบาลจึงมีแนวคิดในการหาแนวทางใหม่ในการบริหารจัดการสิทธิในการเข้ารับบริการ
              ด้านสุขภาพ ในรูปแบบการท�าประกันสุขภาพ โดยอาจให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ซึ่งรัฐบาลจะต้องมีมาตรการ
              จูงใจให้ประชาชนผู้มีรายได้ท�าประกันสุขภาพของตนเอง บิดามารดา หรือคู่สมรส โดยสามารถน�าค่าเบี้ยประกันไปใช้ลดหย่อนภาษีได้
              เช่นเดียวกันกับเบี้ยประกันชีวิต ๑๓๖                                                                    บทที่ ๔ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม




























             รัฐบาลได้เห็นชอบกับแผนยุทธศาสตร์สุขภาพโลกของประเทศไทย   สุขภาพแห่งชาติ ซึ่งท�าให้ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
             พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๓ (Thailand Global Health Strategies    เข้ามีส่วนร่วมกับภาครัฐในการจัดท�าและขับเคลื่อนแผน
             2015 – 2020) และจัดท�าแผนปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์  ยุทธศาสตร์ดังกล่าว โดยกระทรวงสาธารณสุขจะสนับสนุน
             ดังกล่าว โดยมุ่งเน้นการพัฒนาระบบสุขภาพและหลักประกัน  การศึกษาวิจัยประเด็นการเงินการคลังด้านสุขภาพ เพื่อน�ามาใช้
             สุขภาพแห่งชาติ ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๗ เมื่อวันที่   เพิ่มประสิทธิภาพการบริการให้ครอบคลุมทั้งผู้ให้บริการ
             ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างระบบสุขภาพและ  ผู้รับบริการ และผู้ซื้อบริการด้านสุขภาพ โดยมีสถาบันวิจัย
             พัฒนายกระดับความสามารถของบุคลากรด้านสุขภาพให้เข้มแข็ง  ระบบสาธารณสุขจะท�าหน้าที่ประสานภาคีเครือข่ายสมัชชา
             และยั่งยืน อันจะท�าให้ประชาชนได้เข้าถึงสิทธิในการรับบริการ   สุขภาพในการร่วมพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขตเมือง
             ที่ดียิ่งขึ้น  อีกทั้งรัฐบาลมีแนวคิดใหม่ที่จะให้ภาคประชาชนเข้ามา   และสร้างความตระหนักเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพให้กับ
                    ๑๓๗
             มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการให้บริการสุขภาพ ตามมติสมัชชา   ทุกกลุ่มวัย รวมถึงสนับสนุนงานวิจัยและช่วยพัฒนาระบบ
             สุขภาพ  เมื่อวันที่  ๘  ธันวาคม  ๒๕๕๘  ท�าให้มีการจัดตั้ง   สุขภาพเขตเมืองอย่างเป็นระบบให้ครอบคลุมในทุกมิติของ
             คณะกรรมการจัดท�าแผนยุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพเขตเมือง   การพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อบรรลุความมั่นคงทางสุขภาพและสุขภาวะ
             และคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพเขตเมือง   ที่ดีของประเทศ ๑๓๘
             ในระดับชาติ และระดับเขตสุขภาพทั้ง ๑๒ เขต  โดยคณะกรรมการ








              ๑๓๖   วาระปฏิรูปพิเศษ ๑๓ แนวทางการปฏิรูประบบประกันสุขภาพ  สภาปฏิรูปแห่งชาติ ส�านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สิงหาคม ๒๕๕๘
              ๑๓๗   ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ,  http://www.nationalhealth.or.th/node/446
              ๑๓๘   มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ ระบบสุขภาพเขตเมือง การพัฒนาระบบบริการสุขภาพอย่างมีส่วนร่วม


                                                                                                           92
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127