Page 119 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 119

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยปี ๒๕๕๘



        ทั้งนี้ เมื่อจ�าแนกรายละเอียดของลักษณะ (ขนาด) เเละสถานที่ตั้ง (ความห่างไกล ทุรกันดาร และการบริหารจัดการ) ของโรงเรียน จากข้อมูล
        ตัวเลขพบว่า มีโรงเรียนอนุบาล-ประถมขนาดเล็ก ประมาณ ๑,๐๐๐ แห่ง ที่มีจ�านวนครูต�่ากว่าเกณฑ์ โดยมีจ�านวนครูที่ยังจ�าเป็นต้องได้รับ
        การจัดสรรเพิ่มรวมกัน ๑,๒๐๐ คน ในขณะที่มีโรงเรียนอีก ๘,๕๐๐ แห่ง มีจ�านวนครูมากกว่าเกณฑ์ โดยรวมกันเป็น ๑๕,๐๐๐ คน ดังนั้น

        ภาวะการณ์ขาดแคลนครูจึงกระจุกตัวอยู่ในโรงเรียนขนาดกลาง โดยมีโรงเรียนขนาดกลางจ�านวน ๒,๕๐๐ แห่ง ขาดแคลนครูรวมกัน ๔,๐๐๐ คน
        นอกจากนั้น ตามลักษณะการจัดการศึกษาที่แท้จริง แม้โรงเรียนขนาดเล็กจะมีจ�านวนนักเรียนน้อย แต่มีจ�านวนห้องเรียนโดยเฉลี่ย ๘ ห้อง
        (ทั้งแบบแยก และคละชั้นเรียน) ต่อโรงเรียน ๑ แห่ง โดยมีครูเฉลี่ย ๕ คนต่อ ๑ โรงเรียน จึงท�าให้เกิดภาวะครูไม่ครบชั้นเรียน หรือครู ๑ คน

        ต้องดูแลมากกว่า ๑ ห้องเรียน โดยเมื่อลองปรับใช้เกณฑ์ตามสภาพความเป็นจริงที่ว่าโรงเรียนควรมีครูอย่างน้อย ๑ คนต่อ ๑ ห้องเรียนแล้ว
        ก็พบว่า โรงเรียนอนุบาล-ประถมขนาดเล็ก ๑๒,๐๐๐ แห่ง ขาดแคลนครูรวมกันถึง ๔๓,๐๐๐ คน โดยสรุปแล้วในปี ๒๕๕๗ การศึกษาไทยทั้งระบบ
        ยังมีความต้องการบุคลากรครูอีก ๖,๐๐๐ กว่าคน ในขณะที่หากพิจารณาเฉพาะในกลุ่มโรงเรียนที่ขาดแคลนครู พบว่า มีความขาดแคลน
        มากถึง  ๓๐,๐๐๐ กว่าคน นั่นท�าให้มีโรงเรียนที่ขาดแคลนครู เพิ่มขึ้นถึง ๕ เท่า ในขณะที่หากพิจารณาโรงเรียนอนุบาล-ประถมขนาดเล็กต้องการครู
        ที่สามารถสอนได้หลากหลายวิชาหรือจบวิชาเอกประถม แต่ปัจจุบันกลับมีครู ๑๐,๐๐๐ คน ที่ส�าเร็จการศึกษาด้านศึกษาศาสตร์ ในวิชาเอกอื่น
        สอนวิชาประถม สอนทุกวิชา ในกลุ่มโรงเรียนอนุบาล-ประถมขนาดเล็ก ขณะที่โรงเรียนอีกกลุ่มกลับมีครูจบวิชาเอกประถม ๑๔,๐๐๐ คน
        ท�าการสอนเพียงวิชาเดียวหรือบางวิชาเท่านั้น สิ่งเหล่านี้ท�าให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการจัดสรรบุคลากรครู ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสิทธิ

        ในการศึกษา ทั้งในส่วนของการเข้าถึงสิทธิทางการศึกษา การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ และการจัดการศึกษาที่ตอบสนอง หรือสอดคล้อง
        กับวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ




          ๔  การประเมินสถานการณ์


        สถานการณ์การศึกษาไทยในปัจจุบัน พบว่า ปัญหาด้านสิทธิทางการศึกษาไม่ว่าจะเป็นการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและความไม่เท่าเทียมกัน
        มิได้เกิดจากการขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งจะเห็นได้จากที่ประเทศไทยทุ่มงบประมาณด้านการศึกษาเป็นอันดับต้น ๆ  ของงบประมาณ

        รายจ่ายประจ�าปี ตลอดช่วงระยะเวลา ๑๐ ปีที่ผ่านมา แต่ปัญหาอยู่ที่ความด้อยประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร ๑๒๔


        นอกจากนั้น  ยังพบว่าความเหลื่อมล�้าทางเศรษฐกิจเป็นปัจจัยส�าคัญ  ประชากรในประเทศไทย แม้ว่ารัฐบาลไทยได้จัดสรรงบประมาณ
                                                                                               ๑๒๕
        ที่ส่งผลกระทบต่อความเหลื่อมล�้าของคุณภาพในการศึกษาของเด็ก  ด้านการศึกษาจ�านวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในแต่ละปี  แต่ถึงอย่างไร
        ที่อยู่ในประเทศไทย ดังจะเห็นว่า เด็กที่มาจากกรุงเทพมหานคร  ก็ตาม ระบบการศึกษาของประเทศยังไม่สามารถตอบสนองต่อ
        จะมีรายได้ครอบครัวเฉลี่ยสูงกว่าภาคอื่น มักจะมีผลคะแนนสอบ   ความหลากหลายของกลุ่มประชากรที่มีบริบททางสังคม เศรษฐกิจ
        O-Net สูงกว่าเด็กที่มาจากครอบครัวยากจนซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่   และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มชายขอบ
        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยิ่งไปกว่านั้น จากข้อมูลเด็กที่ไม่ได้   และกลุ่มอื่น ๆ ในพื้นที่ห่างไกล ดังนั้น รัฐบาลควรน�าระบบ
        ศึกษาในระบบพบว่า ร้อยละ ๙๓.๗๓ เป็นเด็กยากจน ซึ่งขาดโอกาส   การจัดการศึกษาบนฐานคิดสิทธิมนุษยชน (Human Rights-based
        ทางการศึกษา อีกทั้ง ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่ไม่กระจาย   Approach) มาปรับใช้ เพื่อสร้างการยอมรับความเสมอภาค
        อ�านาจหรือการจ�ากัดการบริหารจัดการในท้องถิ่นต่าง  ๆ    และความเท่าเทียม การไม่เลือกปฏิบัติ ตลอดจนการเคารพ
        ก็เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อ “คุณภาพ” และ “การเข้าถึง”    สิทธิมนุษยชนของบุคคลที่แตกต่างหลากหลาย อีกทั้งยังควร
        การศึกษาโดยระบบการศึกษาที่ก�าหนดจากส่วนกลางมิได้     กระจายอ�านาจ พร้อมกับการออกแบบและจัดการศึกษาให้แก่
        สนองตอบต่อความต้องการและบริบททางวัฒนธรรมที่แตกต่าง   ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่
        หลากหลาย ส่งผลกระทบภาพรวมต่อการแข่งขันทางการศึกษาของ







        ๑๒๔  ดร.ตรีนุช ไพชยนต์วิจิตร, เปิดผลวิจัยทีดีอาร์ไอ ชี้การศึกษาไทยตกต�่า เด็กอ่อน ๓ วิชาหลัก “อังกฤษ-เลข-วิทย์”, ดูรายละเอียดได้ที่ <www.matichon.co.th/news_detail.php?news-
        id=1421075189
        ๑๒๕  ข้อมูลจากธนาคารโลก

         89
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124