Page 32 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 32

ประเทศนั้นๆ ได้ก าหนดไว้ และเมื่อการด าเนินการดังกล่าวส าเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์คือสามารถน าพา
                   บุคคลที่ประสงค์เดินทางเข้าประเทศได้เรียบร้อยแล้ว ผู้ที่รับจ้างน าพาก็จะได้รับผลตอบแทนเป็นเงินหรือ

                   ผลประโยชน์อย่างอื่นจากผู้ประสงค์เดินทาง
                          องค์กรอาชญากรรม  หมายถึง กลุ่มที่มีการจัดโครงสร้างของบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปที่มีการ
                   ประสานการด าเนินงานระหว่างกันโดยมีเปูาหมายในการกระท าอาชญากรรมร้ายแรงเพื่อให้ได้มาซึ่ง
                   ผลประโยชน์ทางการเงินหรือผลประโยชน์ทางวัตถุไม่ว่าโดยตรงหรือทางอ้อม

                          อาชญากรรมข้ามชาติ หมายถึง การกระท าที่มีประเทศที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๒ ประเทศ กระท า
                   ร่วมกันโดยกลุ่มบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปในรูปแบบขององค์กร มีจุดมั่งหมายเพื่อแสวงหาประโยชน์ร่วมกัน
                   โดยมีการตระเตรียม การพยายาม และลงมือกระท าความผิดต่อเนื่องกันจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศ
                   หนึ่งหรือหลายประเทศ

                          นายหน้า หมายถึง ผู้มีหน้าที่ติดต่อ ชักชวน ใช้กลอุบาย และน าพาเหยื่อมาส่งต่อให้ผู้ค้ามนุษย์
                          ผู้ค้า หมายถึงผู้ มีหน้าที่ให้ที่พักพิงแก่เหยื่อที่นายหน้าน ามาส่ง รวมทั้งการติดต่อไปยังปลายทาง
                   เพื่อด าเนินการเกี่ยวกับเอกสารปลอม หนังสือเดินทางปลอม ในการอ านวยความสะดวกแก่การเดินทางทั้ง
                   ภายในและภายนอกประเทศ

                          ผู้น าทาง  หมายถึง ผู้มีหน้าที่รับเหยื่อจากผู้ค้า เพื่อพาไปยังเปูาหมาย รวมทั้งกระบวนการตบตา
                   เจ้าหน้าที่ เช่นการสมรสหลอก การเป็นนักท่องเที่ยว เป็นต้น
                          ผู้รับ  หมายถึง ผู้มีหน้าที่รับเหยื่อเข้าสู่ขบวนการค้ามนุษย์  เช่น  การค้าบริการทางเพศ  การน า

                   แรงงานลงเรือประมง รวมทั้งเป็นนายหน้าติดต่อให้ลูกค้ามาใช้บริการ
                          ผู้ควบคุมดูแล  หมายถึง ผู้มีหน้าที่บังคับให้เหยื่อยินยอมท างาน หากขัดขืนจะถูกท าร้ายร่างกาย
                   ๑.๗ ผลที่คาดว่าจะได้รับ

                          ๑.๗.๑ ได้รูปแบบของการค้ามนุษย์ในยุคปัจจุบันที่แฝงอยู่ในการน าเข้าและการส่งออกแรงงานไป

                   ต่างประเทศ
                          ๑.๗.๒ ได้ทราบปัญหา อุปสรรค ในการบังคับใช้กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติ
                   ปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑

                          ๑.๗.๓ ได้แนวทางความร่วมมือในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ระหว่างประเทศไทย
                   กับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม
                   สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสหพันธรัฐมาเลเซีย
                          ๑.๗.๔ ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และการก าหนดมาตรการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ

                   มนุษยชนด้านการค้ามนุษย์

















                                                             ๑๒
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37