Page 28 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 28
๑.๒ วัตถุประสงค์
๑) เพื่อศึกษารูปแบบของการค้ามนุษย์ในยุคปัจจุบันที่แฝงอยู่ในการน าเข้าและการส่งออกแรงงาน
ไปต่างประเทศ
๒) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค ในการบังคับใช้กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติ
ปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
๓) เพื่อหาแนวทางความร่วมมือในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ระหว่างประเทศไทย
กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสหพันธรัฐมาเลเซีย
๔) เพื่อจัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และการก าหนดมาตรการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนด้านการค้ามนุษย์
๑.๓ ขอบเขตการวิจัย
การศึกษาวิจัยครั้งนี้จะเน้นการศึกษาเจาะลึกรูปแบบของการค้ามนุษย์ระหว่างประเทศ ซึ่ง
หมายถึงการค้ามนุษย์จากประเทศไทยไปต่างประเทศ และจากต่างประเทศมายังประเทศไทย โดยมี
ขอบเขตการศึกษาวิจัย ดังนี้
๑.๓.๑ ศึกษาอนุสัญญา พิธีสารเกี่ยวกับการปูองกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์ของ
สหประชาชาติ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศไทย
ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสหพันธรัฐมาเลเซีย คือ
๑. อนุสัญญาสหประชาชาติต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร
๒. พิธีสารเพื่อปูองกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก
๓. พิธีสารเพื่อบัญญัติต่อต้านการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานทางบก ทางทะเลและทาง
อากาศ
๔. พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒
๕. พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙
๖. พระราชบัญญัติมาตรการในการปูองกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐
๗. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๑๔ ) พ.ศ. ๒๕๔๐
๘. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ.
๒๕๔๒
๙. พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
๑๐. บันทึกข้อตกลงเรื่องแนวทางปฏิบัติร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ
ด าเนินการกรณีหญิงและเด็กที่ตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๔๒
๑๑. พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
๘