Page 30 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 30
ต่อความร่วมมือกับประเทศไทยในการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการปูองกัน ปราบปรามขบวนการค้ามนุษย์
และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน รวมทั้งข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อรัฐบาล และ
มาตรการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านการค้ามนุษย์ ดังแผนภูมิที่ ๑
แผนภูมิที่ ๑
กรอบแนวคิดการวิจัย
อนุสัญญา พิธีสารเกี่ยวกับการป้องกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์ของสหประชาชาติ และกฎหมายที่
เกี่ยวข้องกับการป้องกัน ปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
สถานการณ์การค้า รูปแบบการจัดการของ บทบาท ข้อจ ากัด และปัญหาอุปสรรคของ
เครือข่ายการค้ามนุษย์
หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคมที่
มนุษย์ในประเทศ
ไทย - นายหน้า เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปราม
- ต้นทาง - ผู้ค้า การค้ามนุษย์
- ทางผ่าน - ผู้น าพา - ส านักงานตรวจคนเข้าเมือง
- ปลายทาง - ผู้รับ - กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ
- ผู้ควบคุมดูแล - กระทรวงการต่างประเทศ
- ลูกค้าที่ซื้อบริการ - กระทรวงแรงงาน
- กระทรวงมหาดไทย
- กรมสอบสวนคดีพิเศษ
- ส านักงานคณะกรรมการป้องกัน
ปัญหา อุปสรรคในการป้องกัน ปราบปรามการค้ามนุษย์ ปราบปรามการฟอกเงิน
และข้อเสนอแนะต่อความร่วมมือกับประเทศไทย - ภาคประชาสังคม
ในการแก้ไขปัญหา อุปสรรค
ข้อเสนอแนะในการป้องกัน ปราบปรามขบวนการค้ามนุษย์ และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านการค้ามนุษย์
๑.๕ ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Methodology) ซึ่งมีทั้งการวิจัย
เอกสาร (Documentary Research) การวิจัยภาคสนาม (Field Research) และการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
๑.๕.๑ การวิจัยเอกสาร ใช้ในการศึกษาศึกษาอนุสัญญา พิธีสารเกี่ยวกับการปูองกัน ปราบปราม
และลงโทษการค้ามนุษย์ของสหประชาชาติ อนุสัญญาสหประชาชาติต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้ง
ในลักษณะองค์กร พิธีสารเพื่อปูองกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก พิธี
สารเพื่อบัญญัติต่อต้านการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานทางบก ทางทะเลและทางอากาศ กฎหมายที่
๑๐