Page 29 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 29

๑๒. กฎหมายการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศสาธารณรัฐ
                                 ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม

                                 สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสหพันธรัฐมาเลเซีย
                          ๑.๓.๒ ศึกษาบทบาท ข้อจ ากัด และปัญหาอุปสรรคของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปูองกันและ
                   ปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ ส านักงานตรวจคนเข้าเมือง  กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
                   ของมนุษย์  กระทรวง    การต่างประเทศ กระทรวงแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ส านักงานต ารวจ

                   แห่งชาติ กรมสอบสวนคดีพิเศษ และส านักงานคณะกรรมการปูองกันปราบปรามการฟอกเงิน
                          ๑.๓.๓  ศึกษาวิเคราะห์กฎหมายปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศเพื่อนบ้าน
                   และความร่วมมือในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
                          ๑.๓.๔  ศึกษาเหยื่อการค้ามนุษย์จากประเทศเพื่อนบ้านทั้งที่มีเอกสารเดินทางถูกต้อง (หนังสือ

                   เดินทางหรือบัตรผ่านแดน) และไม่มีเอกสารการเดินทาง แต่มีนายหน้าพาหลบหนีเข้ามาโดยผิดกฎหมาย
                   และเหยื่อคนไทย ที่มีเอกสารเดินทางถูกต้อง ถูกหลอกให้เดินทางไปท างานหรือค้าประเวณีที่ต่างประเทศ
                   รวมทั้งสิ้น ๓๑ ราย ดังนี้
                         ๑)   ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ที่มีเอกสารเดินทางถูกต้องจากสาธารณรัฐประชาธิปไตย

                              ประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม สาธารณรัฐแห่ง
                              สหภาพเมียนมา และสหพันธรัฐมาเลเซีย ประเทศละ ๒ ราย รวม ๘ ราย
                         ๒)   ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ที่ไม่มีเอกสารเดินทางถูกต้องจากสาธารณรัฐประชาธิปไตย

                              ประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม สาธารณรัฐแห่ง
                              สหภาพเมียนมา และสหพันธรัฐมาเลเซีย ประเทศละ ๒ ราย รวม ๘ ราย
                         ๓)   ชาวโรฮิงญา ที่อพยพเข้ามาประเทศไทยโดยความช่วยเหลือของขบวนการค้ามนุษย์ ๕ ราย
                         ๔)   คนไทยที่ถูกหลอกให้เดินทางไปท างานหรือค้าประเวณีที่มาเลเซีย สิงคโปร์ ไต้หวัน ญี่ปุุน
                              และเกาหลีใต้ ประเทศละ ๒ ราย รวม ๑๐ ราย

                             ๑.๓.๕   ศึกษารูปแบบการจัดการของเครือข่ายการค้ามนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย นายหน้า ผู้ค้า
                   ผู้น าพา ผู้รับ ผู้ควบคุมดูแล และลูกค้าที่ซื้อบริการ
                           ๑.๓.๖  ศึกษาปัญหา อุปสรรคในการปูองกัน ปราบปรามการค้ามนุษย์ และข้อเสนอแนะต่อ

                   ความร่วมมือกับประเทศไทยในการแก้ไขปัญหา อุปสรรคของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
                   ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนาม สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสหพันธรัฐ
                   มาเลเซีย และข้อเสนอแนะต่อความร่วมมือกับประเทศไทยในการแก้ไขปัญหา อุปสรรค


                   ๑.๔ กรอบแนวคิดในการวิจัย

                          จากวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย ขอบเขตการวิจัย และแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยน ามา
                   ก าหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยครั้งนี้  โดยใช้อนุสัญญา พิธีสารเกี่ยวกับการปูองกัน ปราบปราม และ

                   ลงโทษการค้ามนุษย์ของสหประชาชาติ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปูองกัน ปราบปรามการค้ามนุษย์
                   ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นจุดเริ่มต้นในการวิจัย จากนั้นท าการศึกษาสถานการณ์การค้า
                   มนุษย์ในประเทศไทย รูปแบบการจัดการของเครือข่ายการค้ามนุษย์ บทบาท ข้อจ ากัด และปัญหา
                   อุปสรรคของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ซึ่งจะท าให้ได้ข้อเสนอแนะ


                                                              ๙
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34